Page 237 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 237

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


                   3.3 -adrenoceptor  agonists  ไดแก  brimonidine  eye  drop  0.15-0.2%
                       (Alphagan ) หยอดตาวันละ 2 ครั้ง
                                ®
                       กลไกการออกฤทธิ์ ออกฤทธิ์กระตุนรีเซ็พเตอรชนิด 2-adrenoceptor ซึ่งเปน
                                                                                             
                       autoreceptor มีผลลดการหลั่งสารสื่อประสาท norepinephrine จึงลดการกระตุน

                       -adrenoceptor ที่ ciliary epithelium และลดการสรางน้ําในดวงตา นอกจากนี้ยัง
                            ิ่
                                                                         ิ
                       ชวยเพม uveoscleral outflow ไดดวย ยากลุมนี้จะทําใหเกด mydriasis ได อาจตอง
                                                     
                       ระวังการใชยานี้ในผูปวยตอหินมุมปด เนื่องจากยาจะทําใหมานตาพับไปบดบังมุมตา
                       มากขึ้น
                       ผลขางเคียง ยาหยอดตาจะระคายเคืองตา ตาแหง จอประสาทตาบวมน้ําซึ่งมักสัมพันธ

                                          
                        ั
                       กบขนาดยา หากยาเขาสูกระแสโลหิตอาจทําใหความดันโลหิตเปลี่ยนแปลงและหัว
                       ใจเตนผิดจังหวะ ดังนั้นควรระวังการใชยากลุมนี้ในผูปวยกลุมดังกลาว  brimonidine
                       จัดเปน pregnancy category B



                   3.4 carbonic anhydrase inhibitors, CAIs ไดแก acetazolamide (tab 250 มก.ทุก 6
                                                                                     ®
                       ชั่วโมง, sterile solution for IV), dorzolamide eye drop 2% (Trusopt ) หยอดตา
                       วันละ 3 ครั้ง (หากยามีสวนผสมของ timolol จะใหวันละ 2 ครั้ง)
                                                                      ั
                       กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งการสรางน้ําในดวงตา โดยยบยั้งการทํางานของเอนไซม
                                                                                             ึ
                                                           
                       carbonic anhydrase (CA) ซึ่งเปนเอนไซมที่พบในเนื้อเยอตาง ๆ ของรางกายรวมถง
                                                                       ื่
                                                                                         -
                                                                     
                                                                                             ึ
                                                                                             ่
                       ตา ทําหนาที่ในการเปลี่ยนน้ําและคารบอนไดออกไซดเปนไบคารบอเนต (HCO )   ซง
                                                                                        3
                       ciliary body จะดึงน้ําเขามาแลกกบการขบ HCO ออกไปเพื่อสรางน้ําในดวงตา เมื่อ
                                                    ั
                                                          ั
                                                                 -
                                                                3
                                                                                 
                                   -
                                                 ั
                       ยาทําให HCO ลดลงจากการยบยงเอนไซม CA จึงชวยลดการดึงน้ําเขามาและลดการ
                                                   ั้
                                  3
                       สรางน้ําในดวงตาได ยากลุมนี้นี้จัดเปนกลุมยาขับปสสาวะ (diuretics) ชนิดหนึ่งแตไมได
                       นํามาใชประโยชนเพื่อลดความดันโลหิตเนื่องจากมีประสิทธิภาพในการขับปสสาวะต่ํา
                                                                           
                                                                   ิ
                       ผลขางเคียง ยาหยอดตาทําใหระคายเคืองตา อาจเกดการแพยารุนแรงเนื่องจากยามี
                                                                         
                       โครงสรางของ sulfonamides ยารูปแบบรับประทานทําใหคลื่นไสอาเจียน ปวดทอง
                                             
                       การรับรสเปลี่ยน อาจทําใหเกดอาการชาปลายมือและเทา เกดนิ่วในไตไดเนื่องจากยา
                                               ิ
                                                                          ิ
                       ทําใหปสสาวะเปนกรด เกดภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ํา (hypokalemia) คลอไรดใน
                                            ิ
                                                   ~ 216 ~
   232   233   234   235   236   237   238   239   240   241   242