Page 93 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 93

80 | เ บ ญจมา ศ   ค ช นี    โ รคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพ้นบ้านไทยในผ้ป่วยโ รคเบาหวาน | 81 | 81
 ุ
                                                                       ู
                                                                       ้
                                                          ้
                     โ ร ค เ บ าห ว าน แล ะ คุ ณ ป ร ะ โ ย ช น ข อ ง ผั
                                                  ์
                                                        ื ก พื น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน


 ตารางที่ 3-3: เป้าหมายการควบคุมปัจจัยเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนที่หลอดเลือด   3.2   การควบคุมความดันโลหิต
 ิ
 (ดัดแปลงมาจากเอกสารอ้างองหมายเลข 2)      การควบคุมระดับน้้าตาลในเลือดควบคู่กับการควบคุมระดับความดันโลหิตให้อยู่

                                                              ุ
 การควบคุม / การปฏิบัติตัว   เป้าหมาย   ในเกณฑ์ปกติที่ตั้งเป้าหมายการรักษาไว้ สามารถลดอบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนได้
                                                                                          ุ
                                           ้
                                               ่
                                                ี
                  มาก โดยเฉพาะภาวะแทรกซอนทมต่อไต และต่อจอประสาทตา เป้าหมายการควบคม
                                               ี
  ระดับไขมันในเลือด (มก./ดล.)      ความดันโลหิตในผู้ป่วยโรคเบาหวาน คือ ให้ต่้ากว่า 140/90 มม.ปรอท ทั้งนี้ต้องพจารณา
                                                                                      ิ
    ระดับ triglyceride    < 150   ด้านอายุด้วย โดยในผู้ป่วยที่อายุน้อยสามารถตั้งเป้าหมายให้ต่้ากว่านี้ได้
                                                                            (5)
    ระดับ LDL-C   < 100   ▪  กรณีผู้ป่วยมีระดับความดันโลหิตสูงกว่า 120/80 มม.ปรอท ควรเริ่มปรับเปลี่ยน
    ระดับ HDL-C
 -  ผู้ชาย    ≥ 40   พฤติกรรมสุขภาพ เช่น ดูแลใส่ใจเรื่องโภชนการที่เป็นปัจจัยเสี่ยงให้เกิดความดันโลหิตสูงให้
 -  ผู้หญิง   ≥ 50   มากขึ้น ควบคุมปริมาณและชนิดของอาหาร ออกก้าลังกาย เป็นต้น
                      ▪  ผู้ท่มีความดนโลหตสงกว่า 140/90 มม.ปรอท ตองไดรบยาลดความดนโลหต
                            ี
                                                                   ้
                                   ั
                                                                        ั
                                        ิ
                                                                                     ั
                                                                       ้
                                                                                          ิ
                                           ู
  ความดันโลหิต (มม.ปรอท)
 -  ความดันโลหิต systolic   < 140   ได้แก่ ยากลุ่ม angiotensin converting enzyme inhibitors (ACEIs) (เช่น captopril,
 -  ความดันโลหิต diastolic    < 90   enalapril, lisinopril, perindopril, ramipril เป็นต้น) หรือ angiotensin II receptor

  น้ าหนักตัว      blockers (เช่น losartan, valsartan, candesartan, irbesartan เป็นต้น) และอาจต้อง
                                                                       ุ
                                                                            ั
                                                     ้
                                                     ู
                                                           ่
                                             ้
                            ้
                   ิ
 2
                               ั
    ดัชนีมวลกาย (กก./ม )   18.5-22.9 หรือใกล้เคียง   พจารณาใหยาขบปัสสาวะร่วมดวย หากผป่วยไมสามารถควบคมระดบความดันโลหิตได้
                                ั
    รอบเอว (ซม.)       กรณีผู้ป่วยมีค่าอตราการกรองของไต (estimated glomerular filtration rate; eGFR)
 -  ผู้ชาย    < 90   มากกว่า 30 มล./นาที/1.73 ม.  สามารถให้ยาลดความดันโลหิตในกลุ่มยาขับปัสสาวะ
                                             2
 -  ผู้หญิง   < 80   thiazide diuretics  (เช่น   hydrochlorothiazide, chlorothiazide, indapamide,

  การสูบบุหรี่   ไม่สูบบุหรี่และหลีกเลี่ยงการรับควันบุหรี่   metolazone, chlorthalidone) หากผู้ป่วยมีค่า eGFR นอยกว่า 30 มล./นาที/1.73 ม.
                                                                                           2
                                                                  ้

  การออกก าลังกาย   ตามค้าแนะน้าของแพทย์   พิจารณาให้ยาขับปัสสาวะที่อยู่ในกลุ่ม loop diuretics (เช่น furosemide, bumetanide,
                  torsemide เป็นต้น)
                         นอกจากยาลดความดันโลหตกลม ACEIs และ ARBs สามารถช่วยควบคุมความ
                                                    ่
                                                    ุ
                                                ิ
                  ดันโลหิตในผู้ป่วยโรคเบาหวานแล้ว ยังพบว่ายาทั้งสองกลุ่มสามารถลดอบัติการณ์การเกิด
                                                                             ุ
                  ภาวะแทรกซ้อนต่อไตได้อกด้วย ทั้งในกรณีที่ผู้ป่วยมีภาวะโปรตีนชนิดอัลบูมินรั่วออกมาใน
                                       ี
                  ปัสสาวะทั้งชนิด microalbuminuria และ macroalbuminuria นอกจากนี้ยังพบอกว่า
                                                                                        ี
                  ยาทั้งสองกลุ่มที่มีกลไกการออกฤทธิ์ยับยั้งการท้างานของ angiotensin II นั้นสามารถ
                      ั
                  ยับย้งกระบวนการ tyrosine phosphorylation ในวิถีการส่งสัญญาณของอนซูลิน
                                                                                      ิ
                                              ื
                                                                   ่
                                                                   ุ
                  (insulin signaling pathway) หรออาจกลาวได้ว่ายาในกลม ACEIs และ ARBs สามารถ
                                                      ่
                  ลดความดันโลหิต ลดภาวะแทรกซ้อนต่อไตและยังช่วยท้าให้อินซูลินสามารถท้างานได้ดีขึ้น
                  นั่นเอง (3, 6, 7)
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98