Page 95 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 95

82 | เ บ ญจมา ศ   ค ช นี    โ รคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพ้นบ้านไทยในผ้ป่วยโ รคเบาหวาน | 83 | 83
                                                                       ู
 ุ
                                                          ้
                                                                       ้
                     โ ร ค เ บ าห ว าน แล ะ คุ ณ ป ร ะ โ ย ช น ข อ ง ผั
                                                  ์
                                                        ื ก พื น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน


 ในกรณีหญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวาน ควรตั้งเป้าหมายความดันโลหิต systolic   aspirin ขนาด 75-162 มก. ต่อวัน โดยเฉพาะในผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป ทั้ง
 ในช่วง 110-129 มม.ปรอท และความดันโลหิต diastolic ในช่วง 65-79 มม.ปรอท หาก  เพศหญิงและเพศชาย ที่มีปัจจัยเสี่ยงอื่นร่วมด้วย ได้แก่
                     1)  มีประวัติของครอบครัวมีโรค ASCVD ก่อนวัยอันควร
 ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีความดันโลหิตสูงสามารถใช้ยา methyldopa, labetalol และ nifedipine   2)  มีความดันโลหิตสูง
 แต่ไม่แนะน้าให้ใช้ยาขับปัสสาวะ เนื่องจากมีผลลดการไหลเวียนเลือดไปที่รก และห้ามใช้  3)  มีระดับไขมันในเลือดผิดปกติ
 ้
 ั
 ้
 ิ
 ยากลุ่ม ACEIs และ ARBs ในหญงตงครรภ์เพราะอาจทาให้ทารกวิกลรูป (teratogenic   4)  มีโปรตีนอัลบูมินปนในปัสสาวะ
 (5)
 effects) ตามแนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูง ในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ. 2562    5)  ไม่มความเสี่ยงของภาวะเลือดออกง่าย
                            ี
                     6)  สูบบหรี่
 3.3  การควบคุมระดับไขมันในเลือด
                         ส่วนกรณีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีประวัติการเกิด ASCVD ร่วมด้วย ให้ aspirin
 ้
 ระดับไขมันในเลือดสูง ถือเป็นปัญหาส้าคัญที่พบบ่อยในผป่วยโรคเบาหวาน ส่วน  ขนาด 75-162 มก.ต่อวัน เป็นการป้องกนแบบทติยภูม (secondary prevention) แต่
 ู
                                                     ั
                                                            ุ
                                                                 ิ
 ้
 ิ
 ่
 ั
 ี
 ่
 ั
 ใหญ่มสาเหตุสาคญมาจากพฤตกรรมการใช้ชีวิตทสงผลเสยตอสขภาพ เช่น รบประทาน  หากผู้ป่วยไม่สามารถใช้ aspirin ได้ เนองจากแพ้ยา aspirin  สามารถพิจารณาใหยา
 ี
 ่
 ี
 ุ
                                                                                         ้
                                                    ่
                                                    ื
 อาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูง (จากวิธีการปรุงอาหารแบบทอด ชนดอาหาร ปรมาณอาหาร  clopidogrel ขนาด 75 มก.ต่อวัน แทนยา aspirin ได  ้
 ิ
 ิ
 ้
 ้
 ิ
 ่
 ี
 ทรับประทาน) มีกจกรรมทางกายนอย อาจเนื่องมาจากภาวะอวนหรือเคลื่อนไหวไม่
 สะดวก การออกก้าลังกายน้อยและไม่สม่้าเสมอ ดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจ้า สูบบุหรี่ ม ี  ตารางที่ 3-4: ชนิดของยากลุ่ม statins ตามประสิทธิภาพในการลดระดับ LDL-C
 ความเครียดสะสมสูง เป็นต้น ระดับไขมันในเลือดสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงส้าคัญท้าให้เกิดความ  (ดัดแปลงมาจากเอกสารอ้างองหมายเลข 1)
                                          ิ
 เสื่อมของผนังด้านในของหลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงอวัยวะส้าคัญ ได้แก่ สมอง หัวใจ และไต
                                         ี
                                                                  ี
 ้
 ท้าให้เกิดโรคเรื้อรังตามมา รวมถึงความพการในอวัยวะเหลาน้น หรืออาจรุนแรงทาใหถง  การใช้ยากลุ่ม statins ที่ม การใช้ยากลุ่ม statins ที่ม การใช้ยากลุ่ม statins ที่
 ึ
 ้
 ั
 ิ
 ่
 แก่ชีวิตได้ โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ภาวะระดับไขมันในเลือดผิดปกติ  ความแรงสูง   ความแรงปานกลาง   มีความแรงต่ า
 ที่ส้าคัญ ได้แก่ ค่าไตรกลีเซอไรด์ ตงแต 150 มก./ดล. ขึ้นไป และค่า LDL-C ตั้งแต่ 100   (High intensity statin)   (Moderate intensity   (Low intensity statin)
 ั
 ่
 ้
 มก./ดล. ขึ้นไป ส่วนค่า HDL-C ถ้าในเพศชาย น้อยกว่า 40 มก./ดล. ส่วนในเพศหญิง น้อย  statin)


 กว่า 50 มก./ดล. การให้ยาลดระดับไขมันในเลือดกลุ่ม statins มักให้ตามความแรงของยา     ลดระดับ LDL-C จากระดับ ลดระดับ LDL-C จากระดับ ลดระดับ LDL-C จาก
 ั
 (statin intensity) (ตารางท 3-4) โดยพิจารณาตามอายและปจจัยเสยงของการเกด  ก่อนเริ่มรักษาลงได้มากกว่า ก่อนเริ่มรักษาลงประมาณ  ระดับกอนเริ่มรักษาลง
 ี
 ี
 ่
 ่
 ุ
 ิ
                                                                          ่
 โรคหัวใจและหลอดเลือด (ตารางที่ 3-5)   ร้อยละ 50    ร้อยละ 30-50    ประมาณร้อยละ 30



 3.4  การป้องกันการเกิดเกล็ดเลือดเกาะกลุ่มกัน     Atorvastatin 40-80 มก.  Atorvastatin 10-20 มก.  Simvastatin 10 มก.

 ส้าหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน  อีกสิ่งหนึ่งที่ต้องให้ความส้าคัญไม่น้อยกว่าการควบคุม  Rosuvastatin 20 มก.   Rosuvastatin 5-10 มก.   Pravastatin 10-20 มก.
 ความดันโลหิตสูงและระดับไขมันในเลือดสูง  คือ  การใส่ใจป้องกันการเกิดโรคหัวใจและ  Simvastatin 20-40 มก.   Fluvastatin 20-40 มก.
 หลอดเลือดแข็ง  (atherosclerotic cardiovascular  disease; ASCVD)  ซึ่งเป็นอก  Pravastatin 40 มก.   Pitavastatin 1 มก.
 ี
 เป้าหมายหนึ่งในการรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวาน หรือ เรียกว่าการป้องกันปฐมภูมิ (primary   Fluvastatin 40 มก.

 prevention) ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดใน 10 ปี  มากกว่า
 ร้อยละ 10 ควรพิจารณาให้ยาต้านการเกาะกลุ่มกันของเกล็ดเลือด (antiplatelet drugs)
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100