Page 100 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 100
โ ร ค เ บ าห ว าน แล ะ คุ ณ ป ร ะ โ ย ช น ข อ ง ผั ก พ น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน | 89
ื
์
้
้
บทที่ 4 ผักพื้นบ้านไทยที่มีฤทธิ์ต้านเบาหวาน
บทน า
ผักพื้นบ้าน หรือ พรรณไม้พื้นเมืองท้องถิ่น เป็นผักที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มักมี
ื่
ขายตามฤดูกาลและพบได้ทั่วไปในท้องถิ่น หรือคนท้องถิ่นน้ามาเพาะปลูกไว้เพอบริโภค
เป็นอาหารในครัวเรือนตั้งแต่สมัยโบราณกาล เป็นพชที่ไม่จ้าเป็นต้องใช้สารเคมีจึงมความ
ื
ี
ปลอดภัยสง ราคาถกเพราะไม่ต้องเสียค่าขนส่ง อกทั้งยังมีคุณประโยชน์ ทั้งคุณค่าทาง
ี
ู
ู
อาหารและสรรพคุณทางยา ผักพื้นบ้านและสมุนไพรมีหลายชนิดที่คนไทยคุ้นเคย โดยแบ่ง
ตามลักษณะของพืช เช่น ผักเถาเลื้อย (ได้แก่ มะระขี้นก ต้าลึง ฟักข้าว ย่านาง ถั่วพู อัญชัน
ผักเชียงดา) ไม้พุ่ม (ได้แก่ หม่อน บัวบก กระชาย หญ้าหนวดแมว ฟ้าทะลายโจร กระเทียม
ุ
ขมิ้น หอม ชะพล) ไม้ยืนต้น (ได้แก่ มะรุม มะเดื่ออทุมพร สะเดา ขี้เหล็ก) ผักพนบ้านจึงมี
ื้
ู
ื้
ชื่อจ้าเพาะในแต่ละท้องถิ่น ส่วนต่าง ๆ ของผักพนบ้านที่น้ามาประกอบอาหารเพอ
ื่
ั
็
่
รบประทาน ได้แก ยอด ดอก ผล เมลด หว ราก เป็นต้น ควรมการสงเสรมใหคนไทย
ิ
้
่
ั
ี
ุ
ี
้
ู
้
ื
ั
รับประทานผกพนบ้านในการดแลสขภาพ เพราะนอกจากมประโยชน์ดานคุณค่าทาง
้
อาหาร เช่น วิตามน เกลอแร่และเสนใยอาหาร แลวยงพบว่าหลายชนดมีสรรพคณทางยา
ิ
้
ั
ุ
ิ
ื
เช่น ลดระดับน้้าตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ได้
อย่างไรก็ตาม จากการรวบรวมงานวิจัยที่เป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ที่พบทั้งใน
ื
ั
ิ
ี
ั
้
้
หลอดทดลอง ในสัตว์ทดลองและในทางคลินก พบว่าผกพนบานหลายชนดยงมกลไกการ
ิ
ออกฤทธิ์ที่หลากหลายที่ช่วยเสริมการลดระดับน้้าตาลในเลือด ซึ่งบางกลไกการออกฤทธิ์มี
ความคล้ายคลึงกับยาแผนปัจจุบันที่ใช้รักษาโรคเบาหวาน แต่มีข้อดีกว่า คือ พบอาการไม่
ื่
ึ
พงประสงค์ที่รุนแรงน้อยกว่า นอกจากนี้ยังพบฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาอน เช่น ฤทธิ์ต้าน
ออกซเดชัน ฤทธิ์ต้านอกเสบ ฤทธิ์ยบยงปฏิกรยาไกลเคชัน เป็นตน ในผักพนบ้านที่ช่วย
้
ื้
ั
ิ
ั
ิ
ิ
้
ั
ส่งเสริมการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานให้มีสุขภาพที่ดีขึ้น และชะลอการเกิดภาวะ
่
ึ
ื
้
็
แทรกซอนต่อระบบต่าง ๆ ของรางกายซงมกเปนสาเหตุของความพิการของอวัยวะ หรอ
่
ั
ี
รุนแรงจนน้าไปสู่การเสียชีวิตในผู้ป่วยโรคเบาหวาน นอกจากนี้ยังพบสารพฤกษเคมที่ออก
ฤทธิ์ต้านเบาหวานในผักพื้นบ้านหลากหลายชนิด ซึ่งจะได้กล่าวต่อไปในบทนี้