Page 103 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 103
90 | เ บ ญจมา ศ ค ช นี โ รคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพ้นบ้านไทยในผ้ป่วยโ รคเบาหวาน | 91 | 91
ู
ุ
ื ก พื น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน
โ ร ค เ บ าห ว าน แล ะ คุ ณ ป ร ะ โ ย ช น ข อ ง ผั
์
้
้
ซิส (บทที่ 2 รูปที่ 2-5) ดังนั้นเมื่อเอนไซม์เหล่านี้ถูกยับยั้งจะท้าให้การดูดซึมกลูโคสเข้าสู่
4.1 กลไกการออกฤทธิ์ต้านโรคเบาหวานของผักพื้นบ้าน กระแสเลือดลดลง และช่วยชะลอการเพิ่มระดับน้้าตาลในเลือด โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงหลัง
รับประทานอาหาร (postprandial blood glucose)
ในการพัฒนายาใหม่จากสมุนไพร หรือ ผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ เพื่อควบคุมระดับ
▪ ยับยั้งการท้างานของเอนไซม์ hexokinase ซึ่งเอนไซม์นี้มีความส้าคัญในการ
น้้าตาลในเลือดให้ได้ตามเป้าหมายการรักษาโรคเบาหวานนั้น ต้องมีความเข้าใจถึงกลไก เกดปฏิกรยา phosphorylation ของกลูโคสไดผลผลิต glucose-6-phosphate (G-6-P)
ิ
ิ
ิ
้
การเกิดโรคเบาหวาน บทบาททางสรีรวิทยาของฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะอินซูลิน ก่อนเกิดกระบวนการ glycolysis ได้เป็นพลังงาน ATP ดังนั้นการยับยั้งการท้างานของ
และกลูคากอน รวมถึงการควบคุมความสมดุลของระดับน้้าตาลในเลือดของร่างกาย ซึ่งได้ เอนไซม์ hexokinase จะท้าให้สร้าง G-6-P จากกลูโคสได้ช้าลง
อธิบายเบื้องต้นแล้วในบทที่ 1 ส่วนในบทที่ 2 ได้กล่าวถึงเภสัชวิทยาของยารักษาโรค
์
เบาหวานแผนปัจจุบันที่ใช้รักษาทางคลินิก ที่มีหลักฐานเชิงประจักษถึงผลการรักษา ข้อมูล
ทางเภสัชจลนศาสตร์ อาการไม่พงประสงค์ ข้อบ่งใช้ ข้อควรระวัง ข้อห้ามใช้ อันตรกิริยา
ึ
ระหว่างยา อีกทงพิจารณาถึงความเหมาะสมส้าหรับผู้ป่วยในแต่ละราย ซึ่งจะท้าให้
ั้
เชื่อมโยงและมความเข้าใจถึงกลไกการออกฤทธิ์ต้านเบาหวานของผักพื้นบ้านได้ง่ายขึ้น
ี
(1, 2)
ดังนี้ (รูปที่ 4-1)
▪ กระตุ้นให้มีการหลั่งอนซูลินมากขึ้น ซ่งอาจอาศัยการสงสญญาณผ่านตัวรับ
่
ั
ิ
ึ
อนซูลินผ่านวิถี phosphatidylinositol-3-kinase (PI3K)/protein kinase B (Akt) หรือ
ิ
ผ่านวิถี mitogen activated protein kinase (MAPK) หรือ insulin signaling pathway
อื่นที่เกี่ยวข้อง
ิ
▪ เพิ่มความไวในการตอบสนองต่ออินซูลิน หรือ ลดการดื้ออนซูลิน ส่วนใหญ่
เป้าหมายการออกฤทธิ์ คือ ท้าให้เซลล์กล้ามเนื้อและเซลล์ไขมันไวต่ออินซูลินมากขึ้น
่
ู
▪ ปกป้องการถกท้าลายของเบต้าเซลล์ในตับออน
▪ ยับยั้งการหลั่งกลูคากอน หรือ ลดภาวะกลูคากอนเกินในเลือด
▪ เพิ่มการน้ากลูโคสเข้าสู่เซลล์ โดยการกระตุ้นการท้างานของตัวน้าส่งกลูโคส
(glucose transporter; GLUT)
้
ุ
▪ ยับยั้งการผลิตกลูโคส (gluconeogenesis) ผานการกระต้นการทางานของ
่
adenosine 5’ monophosphate activated protein kinase (AMPK) ในเซลล์ตับ และ
ยับยั้งการสลายไกลโคเจน (glycogenolysis) จากตับ
้
ั
์
ื
▪ ยับย้งการย่อยอาหารประเภทคารโบโฮเดรตหรอแปง ด้วยกระบวนการทางาน
้
ของเอนไซม์ เช่น -glucosidase, -amylase เป็นต้น โดยปกติหลังรับประทานอาหาร
เอนไซม์ทั้งสองชนิดจะย่อยคาร์โบไฮเดรตให้เป็นน้้าตาลโมเลกุลเดี่ยวด้วยปฏิกิริยาไฮโดรไล