Page 106 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 106
94 | เบญจมาศ คุชน ี
ตารางที่ 4-1: ตัวอย่างกลไกการออกฤทธิ์ต้านเบาหวานของสารพฤกษเคมี
สารพฤกษเคม ี กลไกการออกฤทธิ์
Quercetin ▪ ปกป้องการเสื่อมของเบต้าเซลล์ และลดการสลายไกล
(6)
โคเจน
▪ ยับยั้งเอนไซม์ -glucosidase (IC50 0.017 มิลลิ
(7)
โมล/ล.
Kaempferol ▪ ปกป้องการเสื่อมของเบต้าเซลล์
(8)
▪ ยับยั้งเอนไซม์ -amylase (IC50 4.8 มิลลิโมลาร์
(8)
Luteolin ▪ ยับยั้งเอนไซม์ -glucosidase (IC50 0.5 มก./มล.)
(9)
และเอนไซม์ -amylase (IC50 50 มก./มล.)
(10)
Genistein ▪ ปกป้องการเสื่อมของเบต้าเซลล์ในตับอ่อน
▪ ลดการสลายไกลโคเจน
(11)
Daidzein ▪ กระตุ้นการน้าส่งกลูโคสผ่าน GLUT4 และยับยั้ง
AMPK ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับวิถีการส่งสัญญาณใน
(12)
การหลั่งอินซูลินในร่างกาย
▪ ลดการสลายไกลโคเจน
(11)
รูปที่ 4-2: สารพฤกษเคมีที่มีฤทธิ์ต้านเบาหวาน (ดัดแปลงมาจากเอกสารอ้างอิงหมายเลข 4 และ 5)
Naringenin ▪ ยับยั้งเอนไซม์ -glucosidase (IC50 384 มิลลิโม
(13)
ลาร์)
Epicatechin ▪ ปกป้องการเสื่อมของเบต้าเซลล์จากสารอนุมูอิสระ
(14)
(oxidative stress)
Rutin ▪ กระตุ้นการน้าส่งกลูโคสเข้าเซลล์ และเพิ่มการเกิด
(15)
GLUT4 translocation
Gallic acid ▪ เพิ่มการหลั่งอินซูลินโดยเปลี่ยน proinsulin เป็น
ิ่
insulin และกระตุ้นการน้าส่งกลูโคสและเพมการเกิด
(16)
GLUT4 translocation