Page 105 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 105
โ รคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพ้นบ้านไทยในผ้ป่วยโ รคเบาหวาน | 93
ื
ู
4.2 สารพฤกษเคมีที่มีฤทธิ์ต้านเบาหวาน
ี
สารพฤกษเคม (phytochemicals) หมายถึง สารเคมีที่พชสร้างขึ้นด้วยกระบวน
ื
์
ี
ิ
การเมแทบอลซึมท่มีฤทธิทางชีวภาพ สามารถแบงกลมของสารพฤกษเคมี ออกไดเปน 2
็
้
่
่
ุ
่
(3)
กลุ่มใหญ่ ๆ ได้แก
ื้
1) สารเมแทบอไลท์ปฐมภูมิ (primary metabolites) เป็นสารเคมีพนฐานที่ได้จาก
่
ื
ี
ั
ั
้
ี
้
กระบวนการสงเคราะห์แสง รวมทงสารเคมอน ๆ ทเกยวของในกระบวนการ สามารถพบ
ี
่
่
ื
ได้ในพชเกือบทุกชนิด และมีความส้าคัญต่อเมแทบอลิซึมที่จ้าเป็นของเซลล์ ได้แก่
คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เม็ดสี เกลืออนินทรีย์ เอนไซม์ เป็นต้น
ุ
ิ
2) สารเมแทบอไลท์ทตยภูมิ (secondary metabolites) เป็นสารเคมีที่ได้มาจาก
การน้าสารเมแทบอไลท์ปฐมภูมิมาเข้าสู่กระบวนการชีวสังเคราะห์ หรือเพอสร้างสารที่
ื่
้
็
้
ื
จาเปนต่อการดารงชีวิต พบได้แตกต่างในพชแต่ละชนิด ส่วนใหญ่มักแสดงฤทธิ์ทางเภสัช
่
์
วิทยา ได้แก สารกลมอัลคาลอยด์ (alkaloids) สารกล่มฟลาโวนอยด (flavonoids) สาร
ุ
่
ุ
กลุ่มแทนนิน (tannins) สารกลมไกลโคไซด (glycosides) สารกลุ่มเทอร์พนอยด์
์
ุ
ี
่
(terpenoids) สารกลุ่มซาโปนิน (saponins) น้้ามันหอมระเหย เป็นต้น
จากการสืบค้นข้อมูลรายงานการวิจัยในหลอดทดลอง และสัตว์ทดลอง พบว่ามี
สารพฤกษเคมีจ้านวนมากที่มีฤทธิ์ต้านเบาหวาน ทั้งนี้ได้แบ่งตามกลุ่มของสารเมแทบอไลท์
่
ทุติยภูมิ (รูปที่ 4-2) (4, 5) ได้แก สารกลุ่มเทอร์พีนอยด์ เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่ประกอบ
ขึ้นจากหน่วยไอโซพรีน (isoprene) เป็นสารที่มีกลิ่นเฉพาะตัว พบได้มากในน้้ามันหอม
ระเหยที่ได้มาจากพืช ผลไม้ หรือ สมุนไพร ตัวอย่างเช่น -amyrin, -carotene, lupeol,
ursolic acid, charantin, asiatic acid เป็นต้น ส่วนสารกลุ่มฟีนอลิก (phenolic
compounds) เป็นสารพฤกษเคมีที่กลุ่มใหญ่มาก สามารถแบ่งกลุ่มย่อยออกได้เป็นหลาย
กลุ่มด้วยกัน ได้แก่ สารกลุ่มฟลาโวนอยด์ (flavonoids) สารนี้พบได้ทุกส่วนของพืช เป็น
สารที่มีสีท้าให้พืชมีสีสันสวยงาม สามารถแบ่งเป็นกลุ่มย่อยได้อก ซึ่งมีสารพฤกษเคมีหลาย
ี
ชนิดที่มีฤทธิ์ต้านเบาหวาน เช่น kaempferol, quercetin, luteolin, genistein,
daidzein, naringenin, rutin เป็นต้น สารกลุ่มฟีนอลิกชนิดอื่น ๆ ที่มีฤทธิ์ต้านเบาหวาน
ได้แก่ gallic acid, resveratrol, gallotannin เป็นต้น รวมถึงสารอื่น ๆ เช่น สารกลุ่มอล
ั
คาลอยด์ (alkaloids) (เช่น berberine) หรือสารประกอบ organosulfur (เช่น allicin) ได ้
ยกตัวอย่างสารพฤกษเคมีและกลไกการออกฤทธิ์ในการต้านเบาหวาน ในตารางที่ 4-1
(4, 5)