Page 111 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 111
98 | เ บ ญจมา ศ ค ช นี โ รคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพ้นบ้านไทยในผ้ป่วยโ รคเบาหวาน | 99 | 99
ู
ุ
้
้
โ ร ค เ บ าห ว าน แล ะ คุ ณ ป ร ะ โ ย ช น ข อ ง ผั
์
ื ก พื น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน
การศึกษาในหลอดทดลองที่ใช้กันอย่างกว้างขวางในการทดสอบและคัดกรองฤทธิ์ 4.3.1 ขมิ้นชัน
ต้านเบาหวานของสมุนไพร ได้แก่ ฤทธิ์ยับยั้งการท้างานของเอนไซม์ -glucosidase และ
เอนไซม -amylase ฤทธิ์กระตุ้นการน้ากลูโคสเข้าเซลล์ โดยมักศึกษาในเซลล์กล้ามเนื้อ
์
เพาะเลี้ยง (เช่น rat L6/L8 myotube cells ซึ่งเป็น skeletal muscle cells) เป็นต้น
ส่วนการศึกษาฤทธิ์ลดระดับน้้าตาลในเลือด หรือ ต้านเบาหวานแบบ in vivo ส่วน
ึ
ั
ใหญ่ศกษาในสตว์ทดลอง (animal models) เช่น Wistar rat, Sprague Dawley rat,
Swiss mice เป็นต้น โดยสัตว์ทดลองต้องถูกเหนี่ยวน้าให้เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2
(T2DM) ด้วยการใช้สาร alloxan หรือ streptozotocin (STZ) หรือ STZ-nicotinamide
้
่
ั
สวนหนู diabetic db/db mice, C57BL/6 mice เป็นหนูสายพนธุ์ที่เลี้ยงให้อวนด้วย
ิ
อาหารชนดไขมนสง (high-fat diet) เพอเป็นการเลียนแบบผู้ป่วยโรคเบาหวาน ดังนั้นไม่
ื่
ู
ั
ิ
ต้องเหนี่ยวน้าด้วยยา จากนั้นให้สมุนไพรหรือผลิตภัณฑ์ธรรมชาติที่ต้องการศึกษาใน ชื่อวทยาศาสตร์: Curcumin longa L.
้
ระยะเวลาที่ก้าหนดไว้ (course of treatment) แล้วติดตามตัวบ่งชี้ที่ตองการวัด (20-23) ชื่อวงศ์: Zingiberaceae
เช่น
ชื่อสามัญ: Curcuma, Curcumin, Indian saffon, Long rooted curcuma,
▪ ระดับนาตาลในเลอดในภาวะอดอาหาร (fasting plasma glucose; FPG) หรือ Turmeric, Yellow ginger
ื
้
้
หลังกินอาหาร (postprandial blood glucose) ชื่อท้องถิ่น: ขมิ้น ขมิ้นแกง ขมิ้นหยอก ขมนหัว ขี้มิ้น ขี้หมิ้น ตายอ สะยอ หมิ้น
ิ้
▪ ระดับ C-peptide (connecting peptide) ในกระแสเลือด ซึ่งเป็นดัชนีบ่งชี้ถึง
ู
ิ
ื
ู
ั
่
ั
ปริมาณการหลงอนซลนในร่างกาย เน่องจาก C-peptide จะถกตดออกจาก proinsulin สารส าคัญ: curcumin, bisdemthoxycurcumin, borneol, cineol,
ิ
่
ิ
ก่อนเปลี่ยนเป็นอนซูลินแล้วจึงถูกหลั่งออกจากเบต้าเซลล์ในตับออน อาจกล่าวได้ว่า การ cyclocurcumin, desmethyoxycurcumin, dihydrocurcumin,
หลั่งอินซูลินออกมาร่วมกับ C-peptide ในสัดส่วนที่เท่ากัน หรือ มีสัดส่วนที่แปรผันตรง essential oil, monodemethoxycurcumin, -phellandrene,
sabinene, sesquiterpene, zingiberene
▪ ประเมินภาวะดื้ออินซูลิน หรือ ความไวในการตอบสนองของเซลล์ต่ออินซูลิน
▪ ประเมินการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับวิถีการส่งสัญญาณผ่านตัวรับอนซูลิน ส่วนที่ใช้เป็นยา
ิ
ิ
ก่อนมีการหลั่งอนซูลิน เช่น phosphatidylinositol-3-kinase (PI3K)/Protein kinase B เหง้า: แก้ผื่นคัน แก้ท้องเสีย แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ ขับลม ขับเสมหะ รักษา
(Akt) adenosine monophosphate-activated protein kinase (AMPK) โรคกระเพาะอาหาร รักษาโรคผิวหนัง สมานแผล บ้ารุงผิว
ื้
ในที่นี้ ขอยกตัวอย่างข้อมูลผักพนบ้านที่คนไทยรู้จักและคุ้นเคยกันดีที่มีหลักฐาน
์
ั
เชิงประจกษในการลดระดับน้้าตาลในเลือด เช่น ขมิ้นชัน บัวบก มะระขี้นก ต้าลึง ชะพลู
มะเดื่ออทุมพร พญาวานร ฟกขาว กระเทียม หอม มะรุม อบเชย ย่านาง ผกเชียงดา ขง
ิ
ุ
ั
้
ั
เป็นต้น