Page 127 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 127
ื ก พื น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน | 115
114 | เ บ ญจมา ศ ค ช นี โ รคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพ้นบ้านไทยในผ้ป่วยโ รคเบาหวาน | 115
ู
ุ
้
์
โ ร ค เ บ าห ว าน แล ะ คุ ณ ป ร ะ โ ย ช น ข อ ง ผั
้
ู
ี่
4.3.5 ชะพลู ชะพลเป็นพืชล้มลุก ชอบขึ้นตามทลุ่มต่้า หรือที่ชื้น ข้างล้าธารในป่าดิบแล้ง ชอบ
แดดแบบร้าไร ปัจจุบันมีการน้ามาปลูกตามบริเวณรอบบ้าน พบได้ทุกภาคของประเทศไทย
มีรสเผ็ดร้อน ช่วยให้เจริญอาหาร สามารถน้ามาประกอบอาหารท้าได้หลากหลายเมนู เช่น
แกงคั่วหอยขมใบชะพลู ย้าตะไคร้ใบชะพูล เมี่ยงปลาเผาใบชะพลู แกงออมชะพลู เมี่ยงค้า
่
เป็นต้น มีคุณค่าทางอาหารสูง และมฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาหลากหลายมาก เช่น ต้านเชื้อ
ี
แบคทีเรีย ต้านเชื้อวัณโรค ต้านเชื้อรา ต้านอักเสบ ต้านออกซิเดชัน ลดไขมันในเลือด
ปกป้องเนื้อเยื่อหัวใจ และสามารถลดระดับน้้าตาลในเลือด พบว่าสารส้าคัญในกลุ่ม
phenylpropanoyl amides ที่พบในสารสกัดใบชะพลูมีฤทธิ์ยับยั้งการท้างานของเอนไซม์
-glucosidase โดยเฉพาะสาร chaplupyrrolidones-B จัดว่ามีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์สูง (56,
57)
(57)
ู
ิ
ชื่อวทยาศาสตร์: Piper sarmentosum Roxb. ข้อมลทางเภสัชจลนศาสตร์
ข้อมูลของสารสกัดชะพลูด้วยเอทานอล ที่ศกษาใน Sprague-Dawley rat โดย
ึ
ชื่อวงศ์: Piperaceae
ป้อนสารสกัดขนาด 500 มก./กก. ครั้งเดียว จากนั้นวัดปริมาณสารส้าคัญของชะพลู คือ
ชื่อสามัญ: Leafbrush, Wildbetal pellitorine, sarmentine และ sarmentosine ในพลาสมา เนื้อเยื่อ อจจาระ และ
ุ
ปัสสาวะ พบว่า pellitorine และ sarmentine มีค่าในเลือดสูงสุด (Cmax) 34.77 ± 1.040
ชื่อท้องถิ่น: ชะพูลเถา ช้าพูล เฌอพลู นมวา ผักแค ผักปูนา ผักพลูนก ผักอีเลิด
ปูลิง ปูลิงนก พลูลิง เย่เท้ย นาโนกรัม/มล. และ 191.50 ± 12.69 นาโนกรัม./มล. ตามล้าดับ เวลาที่ได้ระดับยาสูงสุด
(Tmax) 8 ชั่วโมง และ 6 ชั่วโมง ตามล้าดับ แต่ไม่พบ sarmentosine ในพลาสมา ปัสสาวะ
สารส าคัญ: Amides, asarinin, bradyamide B, guineensine, lignan, หรือ เนื้อเยื่อใด ๆ ขณะที่ pellitorine กระจายตัวได้ดีในผนังล้าไส้เล็ก ตับ ปอด ไตและ
methyl piperate, oxalate, pellitorine, 1-piperrettyl เนื้อเยื่อหัวใจ ส่วน sarmentine พบที่ผนังล้าไส้เล็กและหัวใจเท่านั้น สารทั้งสามชนิดถูกขับ
pyrrolidine, sarmentine, sarmentosine, sesamin, - ออกทางอุจจาระเป็นหลัก อาจสรุปได้ว่าทั้ง pellitorine และ sarmentine มีค่าชีว
sitosterol, stigmasterol, tetradecane, chaplupyrrolidones- ประสิทธิผลสูง ขณะที่ sarmentosine ไม่ถูกดูดซมเข้าสู่ทางเดินอาหาร
ึ
B, trimethoxycinnamoyl pyrrolidine (58)
การศึกษาทางพิษวิทยาแบบกึ่งเฉียบพลัน (subacute toxic effects)
ส่วนที่ใช้เป็นยา
ดอก: ขับลม ข้อมูลจากการศึกษาใน Sprague Dawley rats พบว่าป้อนสารสกัดชะพลูด้วยน้้า
ต้น: ขับเสมหะ ขนาด 50, 300 และ 2,000 มก./กก. ให้หนูเป็นเวลา 28 วัน ไม่มีหนูตาย และไม่พบพิษต่อ
ใบ: ขับเสมหะ ลดน้้าตาลในเลือด ช่วยเจริญอาหาร ระบบเลือด ตับ ไต หรือ อวัยวะภายใน ไม่เพิ่มน้้าหนักตัวของหนู ยกเว้น มีระดับโพแต
ผล: แก้บิด ช่วยย่อยอาหาร สเซียมในเลือดสูงขึ้นเล็กน้อย เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ได้รับน้้าเกลือ (normal saline)
ราก: แก้ปวดเมื่อย แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ ขับเสมหะ ขับลม บ้ารุงธาตุ ในด้านกลไกการออกฤทธิ์ลดระดับน้้าตาลในเลือดของชะพูลในสัตว์ทดลอง ได้
สรุปตัวอย่างในตารางที่ 4-8