Page 132 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 132

120 | เบญจมาศ คุชน ช นี                                                                                       โ ร ค เ บ าห ว าน แล ะ คุ ณ ป ร ะ โ ย ช น ข อ ง ผั ก พื น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน | 121
                            ุ
                              ี
           120 | เ บ ญจมา ศ   ค
                                                                                                                                                              ้
                                                                                                                                                                           ้
                                                                                                                                                     ์


                                                                                                                       เอกสารอ้างอิง
                                สรุปเนื้อหาและทิศทางในอนาคต
                                                                                                                       1.     Adedapo A, Ogunmiluyi I. The use of natural products in the
                  คุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านในการป้องกัน หรือ รักษาโรคเบาหวานมีหลากหลาย                                        management of diabetes: The current trends. J Drug Deliv Ther.

           กลไกการออกฤทธิ์  ดังนั้นควรต้องค้านึงถึงชนิด  และปริมาณของสารออกฤทธิ์  รวมถึง                                      2020;10:153-62.
                         ี
           สารพฤกษเคมีที่มอยู่ในผักพื้นบ้านชนิดนั้น ๆ ซึ่งต้องมั่นใจว่ามีคุณภาพ และ มีปริมาณสาร                        2.     Shanak S, Saad B, Zaid H. Metabolic and epigenetic action
           ออกฤทธิ์ที่มีเพียงพอต่อการเกิดกลไกการออกฤทธิ์ที่ต้องการ เช่น เพิ่มการหลั่งอินซูลิน ลด                              mechanisms of antidiabetic medicinal plants. Evid Based
           การดื้ออินซูลิน  ลดการหลั่งกลูคากอน  ปกป้องเบต้าเซลล์จากการถูกท้าลายของสารอนุมูล                                   Complement Alternat Med. 2019;2019:3583067.
           อิสระ ลดการดูดซึมกลูโคสจากทางเดินอาหาร เพิ่มการน้ากลูโคสเข้าเซลล์และน้าไปใช้เป็น                            3.     สมศักดิ์ นวลแก้ว. เภสัชกรรมแผนไทยประยุกต์. มหาสารคาม: คณะเภสัชศาสตร์

           พลังงาน  ซึ่งกลไกการออกฤทธิ์เหล่านี้  น้ามาซึ่งฤทธิ์ที่พึงประสงค์ต่อการต้านโรคเบาหวาน                              มหาวิทยาลัยมหาสารคาม; 2563.
           สารส้าคัญที่มีฤทธิ์ต้านเบาหวาน  ได้แก่  terpenoids, phenolic acids, alkaloids,                              4.     Chen J, Mangelinckx S, Adams A, Wang Z-T, Li W-L, De Kimpe N.

           organosulfur compounds, flavonoids เป็นต้น ผักพื้นบ้านไทยหลายชนิดมีฤทธิ์ต้าน                                       Natural flavonoids as potential herbal medication for the treatment
                                                                                                                              of diabetes mellitus and its complications. Nat Prod Commun.
                                                           ั
           เบาหวาน เช่น ขมิ้นชัน ต้าลึง บัวบก มะระขี้นก ชะพลู ฟกข้าว กระเทียม มะเดื่ออุทุมพร                                  2015;10:187-200.
           อินทนิลน้้า พญาวานร ย่านาง เป็นต้น ก่อนให้ค้าแนะน้า หรือ ส่งเสริมให้ประชาชนใช้ผัก                           5.     Shanak S, Bassalat N, Barghash A, Kadan S, Ardah M, Zaid H. Drug
           พื้นบ้านต้านเบาหวาน  ควรมีหลักฐานเชิงประจักษ์ทางวิทยาศาสตร์ที่มีขอมูลครอบคลุม                                      discovery of plausible lead natural compounds that target the
                                                                         ้
           ด้านพิษวิทยา เภสัชจลนศาสตร์ การเกิดอันตรกิริยากับยา หรือ กับสมุนไพรที่ชัดเจน เพื่อ                                 insulin signaling pathway: Bioinformatics approaches. Evid Based
           ป้องกันอาการไม่พึงประสงค์ ซึ่งอาจมีความรุนแรงมากหรือน้อยขึ้นกับชนิดของผักพื้นบ้าน                                  Complement Alternat Med. 2022;2022:1-42.
                                                                                                                       6.     Vessal M, Hemmati M, Vasei M. Antidiabetic effects of quercetin in
                                          ื้
                  ข้อด้อยส้าคัญของการใช้ผักพนบ้าน  หรือสมุนไพรในการต้านโรคนั้น  คือ    ยังมี
           ข้อมูลน้อยเกี่ยวกับพิษวิทยาแบบเฉียบพลัน  แบบกึ่งเฉียบพลัน  และแบบเรื้อรังเพื่อให้มี                                streptozocin-induced diabetic rats. Comp Biochem Physiol Part C:
                                                                                                                              Toxicol Pharmacol. 2003;135:357-64.
                                                                            ่
           ความน่าเชื่อถือ และมั่นใจว่าการใช้ผักพื้นบ้านแต่ละชนิดในระยะเวลานาน ไม่กอให้เกิดพิษ                         7.     Li YQ, Zhou FC, Gao F, Bian JS, Shan F. Comparative evaluation of
           ต่ออวัยวะในร่างกาย  รวมถึงฤทธิ์ก่อมะเร็ง  ผลต่อทารกในครรภ์  หรือ  ข้อมูลทางเภสัช                                   quercetin, isoquercetin and rutin as inhibitors of -glucosidase. J
           จลนศาสตร์ มีข้อบ่งใช้ที่ชัดเจน มีข้อห้ามใช้ในผู้ป่วยที่ต้องดูแลเป็นพิเศษ เช่น โรคตับ โรค                           Agric Food Chem. 2009;57:11463-8.

           ไต  โรคหัวใจ  โรคความดันโลหิตสูง  เป็นต้น  ทิศทางการวิจัยฤทธิ์ต้านเบาหวานของผัก                             8.     Zhang Y, Zhen W, Maechler P, Liu D. Small molecule kaempferol
           พื้นบ้านในอนาคต หากต้องการส่งเสริมให้ประชาชนรับประทานผักพนบ้านเป็นอาหารต้าน                                        modulates PDX-1 protein expression and subsequently promotes
                                                                   ื้
           โรคเบาหวาน  ต้องมีขอมูลและรายละเอียดที่เข้าถึงได้ง่าย  และมีผู้เชี่ยวชาญสามารถให้                                  pancreatic -cell survival and function via CREB. J Nutr Biochem.
                               ้
           ค้าปรึกษาและแนะน้าอย่างถูกต้องและเหมาะสม                                                                           2013;24:638-46.
                                                                                                                       9.     Kim JS, Kwon CS, Son KH. Inhibition of alpha-glucosidase and

                                                                                                                              amylase by luteolin, a flavonoid. Biosci Biotechnol Biochem.

                                                                                                                              2000;64:2458-61.
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137