Page 133 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 133

ื ก พื น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน | 121
 120 | เ บ ญจมา ศ   ค ช นี    โ รคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพ้นบ้านไทยในผ้ป่วยโ รคเบาหวาน | 121
 ุ
                                                                      ู
                    โ ร ค เ บ าห ว าน แล ะ คุ ณ ป ร ะ โ ย ช น ข อ ง ผั
                                                 ์
                                                         ้
                                                                      ้


                  เอกสารอ้างอิง
 สรุปเนื้อหาและทิศทางในอนาคต
                  1.     Adedapo A, Ogunmiluyi I. The use of natural products in the
 คุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านในการป้องกัน หรือ รักษาโรคเบาหวานมีหลากหลาย  management of diabetes: The current trends. J Drug Deliv Ther.
 กลไกการออกฤทธิ์  ดังนั้นควรต้องค้านึงถึงชนิด  และปริมาณของสารออกฤทธิ์  รวมถึง  2020;10:153-62.
 สารพฤกษเคมีที่มอยู่ในผักพื้นบ้านชนิดนั้น ๆ ซึ่งต้องมั่นใจว่ามีคุณภาพ และ มีปริมาณสาร  2.   Shanak S, Saad B, Zaid H. Metabolic and epigenetic action
 ี
 ออกฤทธิ์ที่มีเพียงพอต่อการเกิดกลไกการออกฤทธิ์ที่ต้องการ เช่น เพิ่มการหลั่งอินซูลิน ลด  mechanisms of antidiabetic medicinal plants. Evid Based
 การดื้ออินซูลิน  ลดการหลั่งกลูคากอน  ปกป้องเบต้าเซลล์จากการถูกท้าลายของสารอนุมูล  Complement Alternat Med. 2019;2019:3583067.
 อิสระ ลดการดูดซึมกลูโคสจากทางเดินอาหาร เพิ่มการน้ากลูโคสเข้าเซลล์และน้าไปใช้เป็น  3.   สมศักดิ์ นวลแก้ว. เภสัชกรรมแผนไทยประยุกต์. มหาสารคาม: คณะเภสัชศาสตร์

 พลังงาน  ซึ่งกลไกการออกฤทธิ์เหล่านี้  น้ามาซึ่งฤทธิ์ที่พึงประสงค์ต่อการต้านโรคเบาหวาน   มหาวิทยาลัยมหาสารคาม; 2563.
 สารส้าคัญที่มีฤทธิ์ต้านเบาหวาน  ได้แก่  terpenoids, phenolic acids, alkaloids,   4.   Chen J, Mangelinckx S, Adams A, Wang Z-T, Li W-L, De Kimpe N.

 organosulfur compounds, flavonoids เป็นต้น ผักพื้นบ้านไทยหลายชนิดมีฤทธิ์ต้าน  Natural flavonoids as potential herbal medication for the treatment
                         of diabetes mellitus and its complications. Nat Prod Commun.
 เบาหวาน เช่น ขมิ้นชัน ต้าลึง บัวบก มะระขี้นก ชะพลู ฟกข้าว กระเทียม มะเดื่ออุทุมพร   2015;10:187-200.
 ั
 อินทนิลน้้า พญาวานร ย่านาง เป็นต้น ก่อนให้ค้าแนะน้า หรือ ส่งเสริมให้ประชาชนใช้ผัก  5.   Shanak S, Bassalat N, Barghash A, Kadan S, Ardah M, Zaid H. Drug
 ้
 พื้นบ้านต้านเบาหวาน  ควรมีหลักฐานเชิงประจักษ์ทางวิทยาศาสตร์ที่มีขอมูลครอบคลุม  discovery of plausible lead natural compounds that target the
 ด้านพิษวิทยา เภสัชจลนศาสตร์ การเกิดอันตรกิริยากับยา หรือ กับสมุนไพรที่ชัดเจน เพื่อ  insulin signaling pathway: Bioinformatics approaches. Evid Based
 ป้องกันอาการไม่พึงประสงค์ ซึ่งอาจมีความรุนแรงมากหรือน้อยขึ้นกับชนิดของผักพื้นบ้าน   Complement Alternat Med. 2022;2022:1-42.
                  6.     Vessal M, Hemmati M, Vasei M. Antidiabetic effects of quercetin in
 ื้
 ข้อด้อยส้าคัญของการใช้ผักพนบ้าน  หรือสมุนไพรในการต้านโรคนั้น  คือ    ยังมี
 ข้อมูลน้อยเกี่ยวกับพิษวิทยาแบบเฉียบพลัน  แบบกึ่งเฉียบพลัน  และแบบเรื้อรังเพื่อให้มี  streptozocin-induced diabetic rats. Comp Biochem Physiol Part C:
                         Toxicol Pharmacol. 2003;135:357-64.
 ความน่าเชื่อถือ และมั่นใจว่าการใช้ผักพื้นบ้านแต่ละชนิดในระยะเวลานาน ไม่กอให้เกิดพิษ  7.   Li YQ, Zhou FC, Gao F, Bian JS, Shan F. Comparative evaluation of
 ่
 ต่ออวัยวะในร่างกาย  รวมถึงฤทธิ์ก่อมะเร็ง  ผลต่อทารกในครรภ์  หรือ  ข้อมูลทางเภสัช  quercetin, isoquercetin and rutin as inhibitors of -glucosidase. J
 จลนศาสตร์ มีข้อบ่งใช้ที่ชัดเจน มีข้อห้ามใช้ในผู้ป่วยที่ต้องดูแลเป็นพิเศษ เช่น โรคตับ โรค  Agric Food Chem. 2009;57:11463-8.

 ไต  โรคหัวใจ  โรคความดันโลหิตสูง  เป็นต้น  ทิศทางการวิจัยฤทธิ์ต้านเบาหวานของผัก  8.   Zhang Y, Zhen W, Maechler P, Liu D. Small molecule kaempferol
 พื้นบ้านในอนาคต หากต้องการส่งเสริมให้ประชาชนรับประทานผักพนบ้านเป็นอาหารต้าน  modulates PDX-1 protein expression and subsequently promotes
 ื้
 ้
 โรคเบาหวาน  ต้องมีขอมูลและรายละเอียดที่เข้าถึงได้ง่าย  และมีผู้เชี่ยวชาญสามารถให้  pancreatic -cell survival and function via CREB. J Nutr Biochem.
 ค้าปรึกษาและแนะน้าอย่างถูกต้องและเหมาะสม   2013;24:638-46.
                  9.     Kim JS, Kwon CS, Son KH. Inhibition of alpha-glucosidase and

                         amylase by luteolin, a flavonoid. Biosci Biotechnol Biochem.

                         2000;64:2458-61.
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138