Page 88 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 88
เพอความเข้าใจในการควบคุมอาหารตามพระราชบัญญัติ กฎกระทรวง และประกาศกระทรวง (กอง
ื่
ควบคุมอาหาร, 2533) จึงแบ่งอาหารออกเป็น 4 กลุ่ม ตามลักษณะการควบคุมที่แตกต่างกัน ได้แก่ อาหาร
ควบคุมเฉพาะ อาหารที่ก าหนดคุณภาพและมาตรฐานอาหารที่ต้องมีฉลาก และอาหารทั่วไป
อาหารควบคุมเฉพาะ คือ อาหารที่กระทรวงสาธารณสุขได้ก าหนดคุณภาพหรือมาตรฐานไว้โดยผู้ผลิต
และผู้น าหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อจ าหน่าย จะต้อง
o ขออนุญาตผลิตหรือน าเข้า
4
o ขอขึ้นทะเบียนต ารับอาหาร
o ขออนุญาตใช้ฉลากอาหาร
o ผลิตหรือน าเข้าอาหารที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพและมาตรฐานที่ก าหนด
โดยอาหารที่ขอขึ้นทะเบียนต ารับอาหารจะมีการก าหนดเลขสารบบอาหารหรือเลข อย. ไว้บนฉลาก
(รายละเอียดกล่าวในบทที่ 6 ฉลาก) เพื่อแสดงว่าได้ขึ้นทะเบียนต ารับอาหารต่อส านักงานคณะกรรมการอาหาร
และยาแล้ว อาหารควบคุมเฉพาะ 7 รายการ ดังแสดงในตารางที่ 4-1
ตารางที่ 4-1 ประกาศที่เกี่ยวข้องกับอาหารควบคุมเฉพาะ
ประกาศ ฯ เรื่อง ประกาศ ฯ ที่เกี่ยวข้อง
1 นมดัดแปลงส าหรับทารถและนมดัดแปลงสูตรต่อเนื่อง
ส าหรับทารกและเด็กเล็ก (หมายเหตุ 1)
2 อาหารทารกและอาหารสูตรต่อเนื่องส าหรับทารกและเด็ก
เล็ก (หมายเหตุ 2)
3 อาหารเสริมส าหรับทารกและเด็กเล็ก (หมายเหตุ 3)
4 อาหารส าหรับผู้ที่ต้องการควบคุมน้ าหนัก (หมายเหตุ 4)
5 วัตถุเจือปนอาหาร (หมายเหตุ 5) 281 (พ.ศ.2547) 363 (พ.ศ.2556)
372 (พ.ศ.2558) 381 (พ.ศ. 2559)
389 (พ.ศ.2561)
6 เอนไซม์ส าหรับใช้ในการผลิตอาหาร 409 (พ.ศ.2562)
4 ในกรณีที่ผู้ผลิตที่ไม่ได้เป็นโรงงาน ไม่ต้องขออนุญาตผลิตอาหาร
75