Page 87 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 87
ค าจ ากัดความ
พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 เป็นกฎหมายหลักที่ใช้ในการควบคุมอาหารและการคุ้มครอง
ผู้บริโภคด้านอาหารในประเทศไทย โดยให้นิยามและความหมายเกี่ยวกับอาหารไว้ ดังนี้ (ราชกิจจานุเบกษา,
2522c)
“อาหาร” หมายความว่า ของกินหรือเครื่องค้ าจุนชีวิต ได้แก ่
1. วัตถุทุกชนิดที่คนกิน ดื่ม อม หรือน าเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าด้วยวิธีใด ๆ หรือในรูปลักษณะใด ๆ แต่ไม่
รวมถึงยา วัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทหรือยาเสพติดให้โทษ ตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น แล้วแต่กรณี
หรือ
2. วัตถุที่มุ่งหมายส าหรับใช้หรือใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตอาหารรวมถึงวัตถุเจือปนอาหาร สี และ
เครื่องปรุงแต่งกลิ่นรส
“อาหารควบคุมเฉพาะ” หมายความว่า อาหารที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้เป็นอาหาร
ที่อยู่ในความควบคุมคุณภาพหรือมาตรฐาน
“ต ารับอาหาร” หมายความว่า รายการของวัตถุที่ใช้เป็นส่วนประกอบอาหาร ซึ่งระบุน้ าหนักหรือ
ปริมาณของแต่ละรายการ
นอกจากนี้ยังมีอาหารที่ห้ามผลิต น าเข้าเพอจ าหน่าย หรือจ าหน่าย จ านวน 4 ประเภท ได้แก่ อาหาร
ื่
ไม่บริสุทธิ์ อาหารปลอม อาหารผิดมาตรฐาน และอาหารที่รัฐมนตรีก าหนด โดยแต่ละประเภทมีลักษณะดังนี้
2
3
1
ประเภทและขอบเขตเพื่อการควบคุม
1 อาหารไม่บริสุทธิ์ ได้แก่ 1) อาหารที่มีสิ่งที่น่าจะเป็นอันตรายแก่สุขภาพเจือปนอยู่ด้วย 2) อาหารที่มีสารหรือวัตถุเคมีเจือปนอยู่ในอัตรา
ที่อาจเป็นเหตุให้คุณภาพของอาหารนั้นลดลงเว้นแต่การเจือปนเป็นการจ าเป็นต่อกรรมวิธีผลิต การผลิตและได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่แล้ว
3) อาหารที่ได้ผลิต บรรจุ หรือเก็บรักษาไว้โดยไม่ถูกสุขลักษณะ 4) อาหารที่ผลิตจากสัตว์ที่เป็นโรคอันอาจติดต่อถึงคนได้ และ 5) อาหารที่มีภาชนะ
บรรจุประกอบด้วยวัตถุที่น่าจะเป็นอันตรายแก่สุขภาพ
2 อาหารปลอม ได้แก่ 1) อาหารที่ได้สับเปลี่ยนใช้วัตถุอื่นแทนบางส่วนหรือคดแยกวัตถุที่มีคณคาออกเสียทั้งหมดหรือบางส่วนและ
ั
่
ุ
จ าหน่ายเป็นอาหารแท้นั้น 2) วัตถุหรืออาหารที่ผลิตขึ้นเทียมอาหารอย่างหนึ่งอย่างใดและจ าหน่ายเป็นอาหารแท้นั้น 3) อาหารที่ได้ผสมหรือปรุงแต่ง
ื้
ด้วยวิธีใดๆโดยประสงค์จะปกปิดซ่อนเร้นความช ารุดบกพร่องหรือความด้อยคุณภาพของอาหารนั้น 4) อาหารที่มีฉลากเพื่อลวงหรือพยายามลวงผู้ซอ
ให้เข้าใจผิดในเรื่องคุณภาพ ปริมาณประโยชน์ หรือลักษณะพิเศษอย่างอื่น หรือในเรื่องสถานที่และประเทศที่ผลิต และ 5) อาหารที่ผลิตขึ้นไม่ถูกต้อง
ุ
ุ
ตามคณภาพหรือมาตรฐานที่รัฐมนตรีประกาศก าหนด ถึงขนาดจากผลการวิเคราะห์ปรากฏว่า ส่วนประกอบที่เป็นคณคาทางอาหารขาดหรือเกิน
่
ร้อยละสามสิบจากเกณฑ์ต่ าสุดหรือสูงสุด หรือแตกต่างจากคุณภาพหรือมาตรฐานที่ระบุไว้จนท าให้เกิดโทษหรืออันตราย
ุ
3 อาหารผิดมาตรฐาน ได้แก่ อาหารที่ไม่ถูกต้องตามคณภาพหรือมาตรฐานที่รัฐมนตรีประกาศแต่ไม่ถึงขนาดดังที่กล่าวไว้ในอาหารปลอม
ข้อที่ 5
74