Page 198 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 198
สื่อ ข้อด ี ข้อเสีย
สื่อโรงภาพยนตร์ มีผู้รับข่าวสารจ านวนมาก การสร้างความรบกวน
สร้างอารมณ์ได้ดี มีทั้งภาพ สี เสียง และการ ต้นทุนต่อหัวค่อนข้างสูง
เคลื่อนไหว
มีการจดจ าโฆษณาได้สูง
สื่อประเภทอื่น ๆ และ สามารถเลือกกลุ่มเป้าหมายได้ดี ถ้าเลือกใช้สื่อไม่เหมาะสมอาจท าให้
สื่อเฉพาะ มีความยืดหยุ่นสูง เสียภาพลักษณ์ของบริษัทและสินค้า
(SpecialtyMedia) เช่น มีความถี่สูง ได้
โมเดล บอลลูน ขวดน้ า ต้นทุนต่ า ตลาดมีความอิ่มตัว
สื่ออินเทอร์เน็ตและ มีผู้รับข่าวสารจ านวนมากและเลือกกลุ่มเฉพาะ ต้องรอบคอบในความถูกต้องของ
เครือข่ายออนไลน์ ด้านได้ เนื้อหาและระบุแหล่งข้อมูลให้
เช่น เว็บไซต์ อีเมล์ Twitter เหมาะกับกลุ่มเป้าหมายวัยรุ่นหรือผู้ที่ใช ้ ชัดเจนก่อนเผยแพร่เพราะเป็นสื่อที่
Facebook, Youtube, เทคโนโลยีสื่อสาร ถูกเผยแพร่ได้เร็วและมีโอกาสถูก
Line, forward mail สร้างอารมณ์ได้ดี มีทั้งภาพ สี เสียง และการ บิดเบือนได้ง่าย
เคลื่อนไหว
มีพื้นที่ส าหรับการแลกเปลี่ยน สื่อสาร
ปฏิสัมพันธ์กันได้สูง
ความรวดเร็วในการกระจายข้อมูลและ
ปรับปรุงเนื้อหาในระดับนาทต่อนาท ี
ี
จากที่ได้เกริ่นน าไปในบทที่ 9 ว่าในปัจจุบันนี้ผู้บริโภคได้รับข้อมูลสุขภาพโดยตรงมากขึ้น เช่น
อาจค้นคว้าข้อมูลด้วยตัวเองทางอนเทอร์เน็ต มีตัวแทนจ าหน่ายสินค้ามาแนะน าถึงที่บ้าน หรือมีการ
ิ
โฆษณาผ่านวิทยุชุมชน เป็นต้น จึงท าให้ในปัจจุบันนี้เกิดปัญหาเรื่องข่าวสารที่แพร่กระจายออกไปไม่มี
คุณภาพ บิดเบือน หรือเข้าข่ายหลอกลวง ช่องทางการสื่อสารที่มักจะพบปัญหาดังกล่าว ได้แก่
โทรทัศน์ (โดยเฉพาะเคเบิลทีวี) วิทยุ (โดยเฉพาะวิทยุชุมชน) นิตยสาร และอนเทอร์เน็ต จึงอยากจะ
ิ
ั
แนะน าเว็บไซต์ของกองพฒนาศักยภาพผู้บริโภค (http://www.oryor.com/oryor/index.html)
ซึ่งมีสื่อประเภทต่าง ๆ ส าหรับการให้ความรู้สุขภาพที่หลากหลายให้เลือกศึกษา และสามารถดาวน์
โหลดไปใช้ประโยชน์ต่อได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายตัวอย่างสื่อจากเว็บไซต์ดังกล่าวแสดงดังรูปที่ 10-2
185