Page 194 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 194
ในที่นี้ผู้บริโภคที่มีความเข้มแข็งจะเป็นผู้ส่งสาร (sender) ออกไปยังผู้รับสาร (receiver)
ซึ่งเป็นผู้บริโภคอื่น ๆ ในชุมชนของตน โดยต้องมีการวิเคราะห์ว่าผู้รับสารเป็นใครจากนั้นจึงวางแผนใน
ส่วนของเนื้อหาสาร (message) (ทั้งข้อมูล แนวคิดหลัก รูปแบบเนื้อหา ภาษา ข้อความ ภาพ สี เป็น
ต้น) และเลือกสื่อ (media) ที่เหมาะสมในการส่งผ่านเนื้อหาให้ไปถึงผู้รับสาร และให้เกิดผลหรือเกิด
การเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นของผู้รับสารตามที่ตั้งเป้าหมายไว้
กระบวนการสื่อสารสุขภาพอาจท าได้ทั้งแบบเชิงรุกและเชิงรับ ตามสถานการณ์ บทบาท
หน้าที่ และความพร้อม
ื่
ั
การสื่อสารเชิงรุก (active strategy) คือ การท างานประชาสัมพนธ์เพอให้เป็นไปตาม
ั
ื่
แผนงานที่องค์กรได้ก าหนดเอาไว้ตั้งแต่ต้น เพอให้บรรลุเป้าหมาย เช่น การประชาสัมพนธ์ข่าวสาร
ข้อมูลต่าง ๆ ที่หน่วยงานเห็นว่าเป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภค หรือการประชาสัมพนธ์ข้อมูลตามหน้าที่
ั
และภารกิจหลักของหน่วยงานนั้น ตัวอย่างเช่น ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา ประชาสัมพันธ์
ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพชนิดต่าง ๆ ที่อยู่ภายใต้พระราชบัญญัติที่ส านักงานคณะกรรมการ
อาหารและยาเป็นผู้ดูแลก ากับติดตาม หรือ การเผยแพร่ข้อมูลเรื่องอนตรายของยาชุด ยาสเตียรอยด์
ั
และยาปฏิชีวนะ ให้แก่ประชาชนทางโทรทัศน์ หรือ การให้ข้อมูลเรื่องสุขอนามัยและการป้องกัน
ท้องร่วงในฤดูร้อน และการป้องกันหวัดในฤดูฝนและฤดูหนาว เป็นต้น
การสื่อสารเชิงรับ (passive strategy) ท าหน้าที่ลดความกดดันต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากอทธิพล
ิ
ั
ื่
ภายนอก หรือใช้เพอแก้ไขสถานการณ์ต่าง ๆ ที่อาจส่งผลลบต่อองค์กร เช่น การประชาสัมพนธ์สร้าง
้
ั
ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการลดน้ าหนักอย่างถูกวิธี อนตรายของยาลดความอวน และอนตราย
ั
ิ
ของสื่อโฆษณาหลอกลวงทางอนเทอร์เน็ต หลังจากมีกรณีผู้บริโภควัยรุ่นเสียชีวิตจากการรับประทาน
ั
ยาลดน้ าหนักที่ซื้อผ่านอนเตอร์เน็ต หรือ การประชาสัมพนธ์เรื่อง กินร้อน ช้อนกลาง ในช่วงที่มีการ
ิ
ระบาดของไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ 2009 เป็นต้น
ในล าดับถัดไป จะกล่าวถึงการวางแผนการสื่อสารสุขภาพในแต่ละองค์ประกอบ
10.2 ผู้รับสาร (Receiver)
สิ่งแรกที่ต้องวางแผน คือ การวิเคราะห์ความต้องการของผู้รับสารก่อน จึงควรต้องทราบว่า
ผู้บริโภคที่เป็นเป้าหมายของเราคือกลุ่มใด และจะออกแบบเนื้อหาพร้อมเลือกสื่อช่องทางใด จึงจะ
เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายมากที่สุด (ดนัย หวังบุญชัย, 2552)
กลุ่มเป้าหมายอาจเป็นกลุ่มประชาชนทั่วไปในชุมชน (ชุมชนท้องถิ่น / ชุมชนเมือง) กลุ่มแกน
ื่
น าอน ๆ ในชุมชน หรือ กลุ่มแนวร่วมที่จะมาช่วยด าเนินการในงานบางส่วนได้โดยต่างฝ่ายต่างได้
ประโยชน์ร่วมกัน (win-win) จากการท างานสร้างเสริมศักยภาพผู้บริโภคร่วมกัน เมื่อกิจกรรมมีความ
181