Page 192 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 192
ตารางที่ 9-2 แหล่งข้อมูลและเครือข่ายเกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภค ในต่างประเทศ
เครือข่าย เว็บไซต (ประเทศ)
์
Consumer International http://www.consumersinternational.
org/ (นานาชาติ)
WHICH https://www.which.co.uk/
(สหราชอาณาจักร)
National Consumer http://www.ncc.org.uk/
Council (สหราชอาณาจักร)
Consumentenbond http://www.consumentenbond.nl/
(เนเธอแลนด์)
Consumer Association http://www.case.org.sg/
of Singapore (สิงคโปร์)
Korea Consumer http://cpb.or.kr/eng/
Protection Board (เกาหลี)
Consumer Council http://www.consumer.org.hk/
(ฮ่องกง)
โดยสรุปแล้ว การจะเป็นผู้บริโภคที่เข้มแข็งในยุคของข้อมูลและข่าวสารได้นั้น จะต้องรู้จัก
ฉลาดเลือกข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพที่เหมาะสม โดยพิจารณาจากแหล่งของข้อมูลที่น่าเชื่อถือ เนื้อหา
มีความชัดเจน ประกอบการวิเคราะห์ไตร่ตรองอย่างมีวิจารณญาณ ซึ่งในส่วนท้ายของบทนี้ ได้
เสนอแนะแหล่งข้อมูลข่าวสารผู้บริโภคที่ดี ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศให้เป็นทางเลือกในการ
สืบค้น ทั้งนี้การที่ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพที่ดีจะถูกส่งไปยังผู้บริโภคได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น
จะต้องอาศัยความร่วมมือของไตรภาคีเครือข่าย ได้แก่ พลังวิชาการ พลังสื่อ และพลังผู้บริโภคเองซึ่ง
ผู้บริโภคได้ศึกษาถึงสิทธิของตนภายใต้พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารทางราชการ พ.ศ. 2540 ด้วย
เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการบริโภคข่าวสารข้อมูล และรักษาไว้ซึ่งสิทธิของตน
9.7 ค าถามท้ายบท
ื่
ั
1. เหตุใดผู้บริโภคจึงต้องพฒนาศักยภาพตนเอง เพอให้สามารถเลือกบริโภคข่าวสารด้าน
สุขภาพ
2. พลังของผู้บริโภคในไตรภาคีเครือข่ายการพัฒนาข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ มีความส าคัญ
อย่างไร
179