Page 142 - Microsoft Word - ANS 1 ËŽ
P. 142

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล

               3.  Neuromuscular blockers (agents acting on end-plate depolarization)

                   3.1  ประโยชนทางคลินิก

                                            ั
                       -  เปนยาที่ออกฤทธิ์ยบยั้ง neuromuscular transmission นิยมใชเปนยารวม
                                                                              ี
                                                          
                            ั
                                                                                  ิ์
               (adjuvants) กบยาสลบระหวางการทําผาตัด ทําใหสามารถใชยาสลบที่ไมมฤทธรุนแรงมากนัก
               และมีผลเสียนอยกวา ทั้งนี้ neuromuscular blockers (หรือ NMJ blockers) จะทําใหไดการ
               คลายตัวของกลามเนื้อที่ lighter planes ของการสลบ และเนื่องจาก neuromuscular
               blockers จะไมผานเขาสู CNS จึงมผลใหเกดการอมพาต (paralysis) โดยไมรบกวนการูสึกตัว
                                             ี
                                                          ั
                                                    ิ
               (consciousness) และการรับรู  (perception) ของความเจ็บปวด (ดังนั้นการใชยาเหลานี้เพียง
               อยางเดียวก็จะไมเพียงพอในการทําการผาตัด)

                       -  neuromuscular blockers อาจใชใน electroshock therapy เพื่อปองกันกระดูก

               เคลื่อน (dislocations) และกระดูกหัก (fractures) ระหวางการชักและยังใชทําใหมีการคลายตัว
               ของกลามเนื้อระหวางทํา mechanical respiration

                       -  ใชในการทําศัลยกรรมดานกระดูก
                       -  ใชในการชวยสอดใสทอตาง ๆ  เชน ทอชวยหายใจ การสองกลอง เปนตน

                       -  อาจใช  tubocurarine ในการวินิจฉัย  myasthenia gravis  กได ทั้งนี้เพราะ
                                                                                 ็
               ผูปวยโรคนี้จะไวตอ tubocurarine อยางมาก แตวิธีการนี้นับวาคอนขางอันตรายทั้งนี้เพราะอาจ
                                        
               กอใหเกดการกดการหายใจอยางรนแรงได
                                                  
                                           ุ
                      ิ
                 
                       onset ของการเกิด neuromuscular blockers จะบงบอกถึงระดับความไว (order of
               sensitivity) ที่กลามเนื้อตาง ๆ กลามเนื้อของตาจะไวทสุด ตามดวยกลามเนื้อเกี่ยวกบการเคี้ยว
                                                                                     ั
                                                             ี่
               (mastication), แขนขา (limb) และกลามเนื้อบริเวณทอง (abdominal muscles) กลามเนื้อที่
                                                    ู
                     ั
                                                       ั
               เกี่ยวกบการหายใจจะไวนอยที่สุดในการถกยบยั้ง ดังนั้นการใชยาโดยความระมัดระวัง จะ
                                                                  
               สามารถ paralyze กลามเนอ เฉพาะบางสวนได โดยไมมีผลตอการหายใจมากนัก
                                      ื
                                                  
                                      ้

                                                                       
                   3.2 ชนิดของ neuromuscular blockers (กลุมที่ 4) แบงได 2 ชนิด คือ (ตารางที่ 4.2,
               ภาพที่ 4.3)
                       3.2.1   Competitive  neuromuscular  blockers  (non-depolarizing
               neuromuscular blockers)




                                                   ~ 121 ~
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147