Page 78 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 78

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


                       2.3.2  กลุม irreversible anticholinesterase agents หรือ irreversible anti-

               AChEs (จับกับเอนไซม AChE แบบถาวร) ไดแก กลุม organophosphorus compounds หรือ
               organophosphates (เชน parathion, paraoxon, DFP และ malathion เปนตน) ซึ่งเปนยา

               ฆาแมลง ออกฤทธิ์โดยจับกับเอนไซม AChE ไดตลอดชวงอายุของเอนไซม ทําใหมีฤทธิ์นานและมี
                 ิ
               พษคอนขางรุนแรง เนื่องจากเอนไซม AChE ไมสามารถกลับไปทําหนาที่ไฮโดรไลซสารสื่อ
               ประสาท ACh (ภาพที่ 2.2 A และ B)  สารในกลุม irreversible anti-AChEs แทบทุกชนิด

                                                   
               ละลายในไขมันไดดีมาก หลายชนิดกลายเปนไอที่อณหภูมิหอง ยาฆาแมลงเปนพวกที่กลายเปน
                                                          ุ
                                                      
               ไอไดนอยและผลิตใหเกาะติดกับสารเฉื่อยทําใหมีการระเหยนอย แตก็ยังเปนอนตรายเพราะเขา
                                                                                ั
                                                                                            ื
                                                                   
               รางกายไดทุกทาง (เชน จากการสูดดม หรือการสัมผัส) เมื่อเขารางกายแลวจะถูกทําลายเกอบ
               ทั้งหมดและขับออกทางไต
                              ยาฆาแมลงกลุมอื่น เชน กลุม carbamates ไดแกสารพวก carbaryl ออกฤทธิ์

                  
               เปน reversible anticholinesterase สารกลุมนี้จะดูดซึมทางผิวหนังไดนอย จึงคอนขาง
               ปลอดภัยกวากลุม organophosphates  และยังมีพิษตอแมลงมากกวามนุษย

                              อาการเปนพิษชนิดเฉียบพลัน  เมื่อไดรับสารนี้จะเกิดอาการเร็วมาก ทั้ง
                                      
               muscarinic และ nicotinic effects มีอาการเฉพาะที่ทั้งทางผิวหนัง ตา ระบบทางเดินหายใจ
               ระบบทางเดินอาหาร แลวแตจะไดรับสารเขาทางไหน ตอมามีอาการทั่วรางกายเมื่อสารนั้นเขาสู

               กระแสโลหิต โดยอาการในแตละระบบ มีดังนี้

                              อาการทางตา รูมานตาตีบ ตาแดง ปวดตา มองไมเห็น
                              ระบบทางเดินหายใจ แนนหนาอก หายใจมีเสียงดังหวีด เนื่องจากหลอดลมบีบ

               ตว และสารคดหลัง (secretion) ในหลอดลมมาก
                              ่
                 ั
                           ั
                              ระบบทางเดินอาหาร มีอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส อาเจียน ปวดทอง ทองเสีย
                              ทางผิวหนัง มีเหงื่อออกในบริเวณนั้นมาก
                              เมื่อเขาสูกระแสโลหต อาการจะรุนแรงมากขึ้น หัวใจเตนชาลง ความดันตก
                                               ิ
                                                                           ั
               กลามเนื้อลาและออนแรงทั่วตัว อาจมีอมพาต ซึ่งตองระวังเมื่อเปนกบกลามเนื้อที่ใชในการ
                                                  ั
               หายใจ อาจเปนสาเหตุสําคัญทําใหเสียชีวิต
                              อาการทางสมอง มีสับสน เดินเซ พูดไมชัด รีเฟล็กซเสียไป ชัก โคมา ตายได






                                                    ~ 58 ~
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83