Page 74 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 74

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


               2.  ยาที่ออกฤทธิ์กระตุนระบบประสาทพาราซิมพาเทติก       (parasympathomimetic

               agents หรือ cholinomimetics agents หรือ cholinergic drugs) เชน สารที่ออกฤทธ   ิ์
               เหมือนหรือคลายกับ ACh (ตารางที่ 2.1 และ 2.2)

                   2.1 Choline esters ไดแก acetylcholine (ACh) และ bethanechol
                       2.1.1  Acetylcholine (ACh)

                              เปนสารสื่อประสาทในรางกาย จัดเปนตนแบบ (prototype) ของยากลุมนี้ แต

                                                        ั
                 
               ไมใช ACh ในการรักษาเนื่องจากออกฤทธิ์กบอวยวะหลายแหงทั่วรางกายและออกฤทธิ์สั้น ถูก
                                                    ั
               ทําลายอยางรวดเร็วดวยเอนไซม AChE
                              ฤทธิ์ของ ACh ที่หลั่งออกมาจากปลายประสาทอยูนอยกวา 1 วินาทีหรือเพียง
                                     ู
                                                                    ู
               แค 1 มิลลิวินาที เพราะถกทําลายอยางเร็ว และ choline จะถกดูดซึมกลับสูปลายประสาททํา
               ใหไมนํา ACh มาใชเปนยา

                              ฤทธิ์ของ ACh ตอรางกาย มีดังนี้
                              1.  ผลตอระบบไหลเวียนโลหิต หัวใจบีบตัวชาลง (negative chronotropic

                                 effect) และเบาลง (negative inotropic effect) มีผลตอ atrial muscle

                                 มากกวา ventricle ในขนาดสูงทําให AV block หรือหัวใจหยดเตนได
                                                                                       ุ
                                                                 
                                 หลอดเลือดขยายตัวทําใหความดันโลหิตลดลง
                              2.  ระบบหายใจ หลอดลมหดตัวมีการหลั่งสารในหลอดลมมากขน ทาใหผูปวยมี
                                                                                   ึ้
                                                                                       ํ
                                                                                             
                                 เสมหะมากขึ้น
                              3.  ระบบทางเดินอาหาร กระเพาะอาหาร และลําไสเล็กทํางานเพิ่มขึ้น มีการ

                                 หลั่งน้ํายอยเพิ่มขึ้น
                              4.  ระบบทางเดินปสสาวะ มีการขับถายงายขึ้น

                              5.  ตา ถาหยอดตาจะทําใหรูมานตาเล็กลง (miosis) มองเห็นภาพระยะใกลได
                                 ชัด ความดันในดวงตา (intraocular pressure) ลดลง

                                                 
                              6.  ตอมตาง ๆ  ไดแก ตอมน้ําตา ตอมน้ําลาย ตอมเหงื่อ ตอมในทางเดิน
                                                                     ่
                                 อาหาร และสารคดหลังในหลอดลมมการหลังมากขึน
                                                                           ้
                                                    ่
                                                                ี
                                                ั



                                                    ~ 54 ~
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79