Page 70 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 70
Pharmacology of Drugs acting on PNS อชิดา จารุโชติกมล
แนวคิดรวบยอด
ระบบประสาทอัตโนมัติ มีหนาที่ควบคุมการทํางานของกลามเนื้อเรียบ (smooth muscle)
กลามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) และตอมตาง ๆ (gland) สามารถแบงไดเปน 2 สวน คือ
ระบบประสาทพาราซิมพาเทติกที่จะมีบทบาทเมื่ออยูในสภาวะปกติ และระบบประสาทซิมพาเท
ติกที่จะควบคุมการทํางานของรางกายในการกระตุนใหตอสู-หนี
สารที่ออกฤทธิ์ตอระบบประสาทอตโนมัติ และชักนําใหเกดผลทางสรีรวิทยา ทั่วไปแบงได 2
ั
ิ
ื
ลักษณะ คือ เพิ่มกระแสประสาท (เสมอนการกระตุนระบบประสาท) ซึ่งในระบบประสาทพารา
ซิมพาเทติกจะเรียกสารนี้วา parasympathomimetic agents หรือ cholinomimetic
ิ์
agents โดยมีกลไก (1) ออกฤทธเปน agonist ออกฤทธิ์โดยตรงที่รีเซ็พเตอร (direct acting)
เชน ACh (2) ยับยั้งการสลายหรือการหมดฤทธิ์ของสารสื่อประสาท เชน neostigmine การ
ยับยั้งผลของกระแสประสาท (เสมือนการยับยั้งการกระตุนระบบประสาท) ซึ่งในระบบประสาท
พาราซิมพาเทติกจะเรียกสารนี้วา parasympatholytic agents หรือ cholinergic
ํ
blocking agents มีกลไกทาใหฤทธิ์ของ ACh ลดลงโดย (1) เปน antagonist ตอรีเซ็พเตอร
(antimuscarinic) เชน atropine, scopolamine (2) ยับยั้งที่ปมประสาท (ganglionic
ั้
blocking drugs) (3) ยับยั้งการสังเคราะหสารสื่อประสาท เชน hemicholinium ซึ่งยับยงการ
ขนสง choline นอกจากนี้ยังมีสารกลุม neuromuscular blocking agent ซึ่งอาจจัดเปน
็
ี่
parasympatholytic agents เชนกัน แตจะขอนําไปกลาวในบทถัดไป จะเหนไดวาสารทออก
ั
ฤทธิ์ตอระบบประสาทพาราซิมพาเทติกมีหลายกลุมและมีกลไกการออกฤทธิ์แตกตางกนไป ดัง
รายละเอียดเพิ่มเติมในบท
~ 50 ~