Page 67 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 67

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


                                             แบบทดสอบทายบท



               กรณีศึกษา  ผูปวยชายวัยรุนมาถอนฟนทคลินิก ผูปวยมีความวิตกกังวลและกลัวมาก ทันตแพทย
                                                 ี่
                                                                       
                                                                               ํ
                 ึ
                                                               ั
                                     ั
                                                                                  ั
                        ่
                        ื
               จงใหยาเพอใหหลับและหลงใหยา promethazine (IV) ทนตแพทยสามารถทาหตถการจนเสร็จ
                    
               โดยผูปวยไมมีภาวะแทรกซอนใด ๆ  อยางไรก็ตามเมอผูปวยลุกยืน กลับมีอาการหนาซีดคลายจะ
                                                          ื่
               เปนลม  จนตองกลับลงไปนอนอีกครั้ง  ผูปวยรูสึกตัวดี  หัวใจเตนเร็ว  120  ครั้ง/นาที  และ  BP
                                 ื่
                                                                                      
                                                       ิ่
               110/70 mmHg  เมอลุกนั่งอีกครั้งหัวใจเตนเพมขึ้นเปน 140 ครั้ง/นาที BP ลดลงเปน 80/40
                                                                     ั
               mmHg  และมีอาการคลายจะเปนลมอกครั้ง    หลังจากใหนอนพกตอ  30  นาที  ผูปวยสามารถ
                                               ี
                                                               
               กลับมาลุกนั่งไดปกติ และ 15 นาทีตอมาสามารถลุกยืนไดโดยไมมีอาการใด ๆ จากขอมูลดังกลาว
               อะไรคือ autonomic effects ที่เกิดจากยาที่ไดรับ จากขอมูลอาการและอาการแสดง และทําไม
               heart rate จึงเพิ่มขึ้นเมื่อ BP ลดลง
                (promethazine  เปน  sedative-antihistamine  ที่มีฤทธิ์เปน  potent  -adrenoceptor
                blocker)

               1. รีเซ็พเตอรที่ autonomic ganglion เปนชนิดใด

               A. nicotinic receptors

               B. muscarinic receptors
               C. -adrenoceptors


               D. -adrenoceptors
               E. dopaminergic receptors


               2. ในภาวะปกติอวัยวะใดที่ไมถูกควบคุมโดยบทบาทเดนของ cholinergic neuron
               A. cardiac muscle

               B. sweat glands
               C. smooth muscle






                                                    ~ 47 ~
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72