Page 64 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 64

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


                                                     สรุป


               1.  ระบบประสาทสวนปลายแบงเปน 2 สวน คือ

                   -  ระบบประสาทโซมาติก ซึ่งควบคุมการทํางานของกลามเนื้อลาย

                   -  ระบบประสาทอัตโนมัติ หรือ ANS  ที่สามารถแบงเปน 2 ระบบยอย คือ

                          ระบบประสาทซิมพาเทติก มีผลตอรางกายในการกระตุนใหตอสูและใชพลังงาน

                          ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก มีผลตอรางกายในแงของการสะสมพลังงาน จึง
                           เปนระบบประสาทที่สําคัญในการควบคุมการทํางานของรางกายในสภาวะท      ี่

                           รางกายอยูในภาวะปกติ

               2.  จํานวนเซลลประสาทใน ANS ทั้ง 2 ระบบมีจํานวน 2 เซลล คือ presynaptic neuron และ
               postsynaptic neuron การทํางานของเซลลประสาทจะอาศัยสารสื่อประสาทสงผานขอมูล โดย

                                                               
               ระบบประสาทพาราซิมพาเทติกมีสารสื่อประสาทที่เกยวของ คือ  acetylcholine (ACh) ระบบ
                                                           ี่
                                                              
                                                         ี่
                                                       ี่
               ประสาทซิมพาเทติกมีสารสื่อประสาททเกยวของ คือ  acetylcholine (ACh) และ
               norepinephrine (NE) เปนตน
                                                            ั
                                              ็
               3.  สารสื่อประสาทจะทํางานไดกตอเมื่อเขาจับกบรีเซ็พเตอร ซึ่งแตละระบบประสาทมี
                                             ั
               ความจําเพาะตอสารสื่อที่แตกตางกน รีเซ็พเตอรที่สําคัญตอระบบประสาทพาราซิมพาเทติก คือ
               nicotinic receptors (N) และ muscarinic receptors (M) รีเซ็พเตอรที่สําคัญตอระบบ

               ประสาทซิมพาเทติก คือ nicotinic receptors (N), alpha adrenoceptors () และ beta

               adrenoceptors ()
               4.  จากการศึกษาในปจจุบันพบวา สามารถแบงกลุมยอย (subtype) ของรีเซ็พเตอรออกเปน

               กลุมตาง ๆ  คือ nicotinic receptors (Nn, Nm)  muscarinic receptors (M1, M2, M3, M4,

               M5) alpha receptors (12) และ beta receptors (1, 2,3 ซึ่งกลุมยอยแตละ
                                                                                      
                                                                                         ื่
                                        ื่
                                                ั
               กลุมนั้นจะพบในบริเวณเนื้อเยอที่ตางกนไป ซึ่งมีความสําคัญสําหรับการทํางานของเนื้อเยอและ
                                                                      ิ
                                      ู
               อวัยวะนั้น (เมื่อรีเซ็พเตอรถกกระตุน) กลไกการทํางานหรือผลที่เกดขึ้นก็จะมีหลากหลาย ขึ้นกับ
               ชนิดของรีเซ็พเตอรที่ถูกกระตุน



                                                    ~ 44 ~
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69