Page 60 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 60

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


                       6.1.4  ยาจะกระตุนหรือปดกั้น presynaptic receptors
                              ผลตอระดับ NE

                              -  ลดระดั บ NE : clonidine, -methyldopa ซึ่งเป น  -agonist
                                                                                      2
                                 (presynaptic receptors) จะมีผลลดความดันโลหิต


                 6.2 กระตุน (agonist) หรือปดกั้น (antagonist) ที่ postsynaptic receptors ซึ่งจะไม

               มีผลตอการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารสื่อประสาทแตจะมีผลเพิ่มหรือลดการทํางานของการสื่อสาร
               ระหวางเซลลประสาท โดยมีผลตอ postsynaptic neurons โดยตรง เชน

                       6.2.1  ผลตอการทํางานของ ACh

                              -  ยา block ที่ nicotinic receptors : พิษจากงูสามเหลี่ยม (–

                                 bungarotoxin), curare, competitive NMJ blocking agents ทั้งกลุม,
                                 hexamethonium

                              -  ย า   block  ที่   muscarinic  receptors  :  atropine,  benztropine,

                                 trihexyphenidyl
                     6.2.2  ผลตอการทํางานของ NE : clonidine ( -agonist) ลดปริมาณ NE
                                                                 2
                       6.2.3  ผลตอการทํางานของ DA : clozapine จะยับยั้ง D4 และ D2 receptors ใช

                              เปน atypical antipsychotic drugs


               ยกตัวอยางยาตามขั้นตอนที่ยาไปมีผล บริเวณหรือตําแหนงที่ออกฤทธิ์ และผลที่เกดขึ้น ดังตาราง
                                                                                  ิ
               ที่ 1.8


               สารที่ออกฤทธิ์ตอ ANS  และชักนําใหเกิดผลทางสรีรวิทยา โดยทั่วไปแบงได 2 ลักษณะ คือ
                   1.  เพิ่มกระแสประสาท (เสมือนการกระตุนระบบประสาท) เชน (1) ออกฤทธิ์เปน agonist

               (2) เพมการหลั่งของสารสื่อประสาท (3) ยับยั้งการสลายหรือการหมดฤทธิ์ของสารสื่อประสาท
                     ิ่
                   2.  ยับยั้งผลของกระแสประสาท (เสมือนการยับยั้งการกระตุนระบบประสาท) เชน (1)
               กระตุนตอ presynaptic receptor (autoreceptor) ยับยั้งการหลั่งสารสื่อประสาท (2) เปน

               antagonist ตอรีเซ็พเตอร (3) ยับยั้งตอปมประสาท (4) ยับยั้งการสังเคราะหสารสื่อประสาท

                                                    ~ 40 ~
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65