Page 56 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 56

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


               ตารางที่ 1.7  ผลของรางกาย เมื่อกระตุนรีเซ็พเตอรในระบบประสาทอัตโนมัติแบบโดยตรง
                                                              ิ
                                                                               ิ
                       ี
                              
                                                                                   ั
               เปรียบเทยบระหวางการกระตนระบบประสาทซิมพาเทตกและพาราซิมพาเทตก (ดดแปลงจาก
                                        
                                        ุ
               Katzung & Vanderah, 2021)
                                          Sympathetic Stimulation            Parasympathetic
                           ั
                        อวยวะ
                                                                                Stimulation
                                       เพิ่ม heart rate หรือ chronotropic
                                                                        ลด heart rate (M2)
                                       (1 & 2)
                                       เพิ่มแรงบีบตัวของกลามเนื้อหัวใจหรือ  ลดการบีบตัวของกลามเนื้อหัวใจ
                 หัวใจ
                                       inotropic (1 & 2)              (M2)

                                       เพิ่มการนําสัญญาณ av conduction
                                                                        ลดการนําสัญญาณ (M2)
                                       หรือ dromotropic (1 & 2)

                 หลอดเลิอดแดง          หดตัว (1)

                 (arteries)            คลายตัว (2, M3)                 สรางและหลั่ง endothelium-
                                                                        derived relaxing factor, EDRF
                                       หดตัว (1)
                 หลอดเลือดดํา(veins)                                    (M3)
                                       คลายตัว (2)

                                                                        กลามเนื้อเรียบของหลอดลมหด
                                       กลามเนื้อเรียบของหลอดลมคลายตัว  ตัว (M3)
                 ปอด
                                                                          ่
                                                                                          ่
                                                                          ิ
                                                                                 ่
                                                                                      ั
                                       (2)                             เพมการหลังสารคดหลังใน
                                                                        หลอดลม (M3)
                 ทางเดินอาหาร (Gastro-  ลดการบีบตัว (2 & 2)           เพิ่มการบีบตัว (M3)
                 intestinal tract)     หูรูดหดตัว (1)                  หูรูดคลายตัว (M3)


                                       เกิด glycogenolysis (2 & )     -
                                       เกิด gluconeogenesis (2 & )  -
                 ตับ
                                       ลด insulin secretion (2)        -

                                       เกิด lipolysis (3)              -


                                                    ~ 36 ~
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61