Page 54 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 54
Pharmacology of Drugs acting on PNS อชิดา จารุโชติกมล
5.3 เปรียบเทียบความแตกตางของระบบประสาทอัตโนมัติทั้ง 2 ระบบ
ี่
ี่
จากรายละเอียดทกลาวมาขางตนเกยวกับ ANS เราสามารถเปรียบเทียบความแตกตาง
ของระบบประสาทพาราซิมพาเทติกและระบบประสาทซิมพาเทติก ในดานโครงสราง สารสื่อ
ประสาท ชนิดรีเซ็พเตอร ใน preganglionic neuron และ postganglionic neuron (ตารางที่
1.6) และเปรียบเทียบผลการกระตุนระบบประสาทแตละระบบ พบวา การกระตุนระบบ
ประสาทพาราซิมพาเทติกจะทําให รูมานตาหดตัว มองภาพระยะใกลไดดี ความดันในลูกตา
ิ่
ลดลง หลอดลมหดตัว เพมสารคัดหลั่งในหลอดลม หัวใจเตนชาลง กลามเนื้อเรียบของทางเดิน
อาหารบีบตัวมากขึ้น เพิ่มการหลั่งน้ํายอยมากขึ้น กลามเนื้อเรียบของกระเพาะปสสาวะบีบตัว
ทําใหมีการขับถายปสสาวะ ตอมน้ําลายขับน้ําลายใสออกมา
การกระตุนระบบประสาทซิมพาเทติกจะทําใหรูมานตาขยายตัว มองภาพระยะไกลไดดี
ขึ้น หลอดลมจะขยายตัว ทางเดินหายใจโลงขึ้น หายใจสะดวกขึ้น หัวใจบีบตัวแรงและเร็วขึ้น ทํา
ใหความดันโลหิตเพิ่มขึ้น หลอดเลือดที่ผิวหนังและอวัยวะภายในหดตัวมีเลือดมาเลี้ยงที่ผิวหนัง
ั
ึ้
และอวยวะภายในนอยลง หลอดเลือดที่กลามเนื้อลายขยายตัวมีเลือดมาเลี้ยงมากขน ตับออน
หลั่ง glucagon และเปลี่ยนไกลโคเจนที่สะสมทตับหรือกลามเนื้อลายเปนกลูโคส
ี่
(glycogenolysis) ทําใหระดับกลูโคสในเลือดเพิ่มขึ้น สามารถนําไปสรางเปนพลังงานไดมากขึ้น
กลามเนื้อเรียบของทางเดินอาหารคลายตัว (ทํางานนอยลง) กลามเนื้อเรียบกระเพาะปสสาวะ
ั
คลายตัว (ทํางานนอยลง) ตอมหมวกไตหลั่ง epinephrine ตอมน้ําลายขบน้ําลายเหนียวออกมา
ู
มาก ตอมเหงื่อขับเหงื่อออกมา ซึ่งเมอพิจารณาขอมลของรีเซ็พเตอรประกอบ ไดแสดงขอมูลไว
ื่
ในตารางที่ 1.7
~ 34 ~