Page 220 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 220
Pharmacology of Drugs acting on PNS อชิดา จารุโชติกมล
2.3 โรคสายเสียงตึง (spasmodic dysphonia; SD หรือ laryngeal dystonia)
เปนความผิดปกติของกลามเนื้อบริเวณกลองเสียง (Intralaryngeal muscle groups)
คือกลามเนื้อบริเวณเสนเสียง (vocal folds or vocal cords) ที่ทําใหเกิดการเปด (abductor
muscle) หรือ การปด (adductor muscle) ของกลองเสียง กลามเนื้อมีการทํางานมากกวาปกติ
ิ
โดยควบคุมไมได ทําใหการพูดและเปลงเสียงผิดปกติ สาเหตุอาจเกดจากมีการสั่งการของ
เสนประสาทที่มายัง larynx ที่ทํางานที่ผิดปกติ SD แบงไดสามประเภท คือ
่
- Adductor spasmodic dysphonia (ADSD) พบไดบอยทสุด เปนการเกร็งของ
ี
กลามเนื้อกลองเสียงในกลุมที่ทําหนาที่ปดสายเสียงและควบคุมการออกเสียง ทําใหมีอาการเสียง
ู
เคน ตองออกแรงพด (strain strangle voice) อาจจะเสียงไมออกเปนชวง ๆ ทําใหเสียงพูดไม
ตอเนื่อง ถามีอาการมากอาจพูดไมออกเลย นอกจากนี้อาจมีเสียงสั่นดวยไดขณะหัวเราะหรือรอง
เพลงเสียงสูง เสียงอาจกลับเปนปกติหรือใกลเคียงปกตได
ิ
- Abductor spasmodic dysphonia (ABSD) เปนการเกร็งของกลามเนื้อกลองเสียงใน
กลุมที่ทําหนาที่เปดสายเสียง ทําใหสายเสียงเปดออกในขณะพูด มีอาการคือพดแลวเปนเสียงลม
ู
ู
(breathy voice) ซึ่งอาจเปนตลอดเวลาหรือพดมีเสียงลมรั่วเปนระยะก็ได ผูปวยที่มีอาการมาก
อาจพูดเปนเสียงเบาหรือเสียงกระซิบตลอดเวลา นอกจากนี้อาจมีเสียงสั่นดวยไดขณะหัวเราะ
ั
ิ
หรอรองเพลงเสียงสูง เสียงอาจกลบเปนปกติหรือใกลเคียงปกตได
ื
- Mixed spasmodic dysphonia มีอาการทั้ง Adductor spasmodic dysphonia
และ Abductor spasmodic dysphonia เปลี่ยนไปมา
การรักษา SD ไดเริ่มมีการนํา BoNT มาใชตั้งแตป ค.ศ. 1984 และพบวาไดผลการรักษา
ที่ดี BoNT มีกลไกไปยับยั้งการหดเกร็งตัวที่มากเกินไปของกลามเนื้อบริเวณเสนเสียง ปริมาณยา
ที่ใชสําหรับการรักษา คือ 1.5 ยูนิต/จุด หรือนอยกวา โดยฉีดผานผิวหนังบริเวณคอเขาไปยัง
ตําแหนงกลามเนื้อที่ตองการ (Holden et al., 2007) ในบัญชียาหลักแหงชาติไดใหใชยานี้โดย
ื
ระบุเงอนไขการใชยาไวสําหรับขอบงใชนแบบทีไมทราบสาเหตุ
่
่
ี
้
~ 199 ~