Page 219 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 219
Pharmacology of Drugs acting on PNS อชิดา จารุโชติกมล
BoNT ใชรักษาอาการหดเกร็งของกลามเนื้อเรียบ (spasm) โดยเริ่มตั้งแตชวงตน
ทศวรรษที่ 1980 ในประเทศสหรัฐฯ และแคนาดา มีการทดลองนํามาใชรักษาอาการตาเหลและ
ี
ตาปดเกร็ง พบวารักษาไดผลดีและมีผลขางเคียงนอยมาก แตผลการรักษาจะอยูไดเพยง 4–6
เดือน ในป ค.ศ. 1989 ไดรับการรับรองจากองคการอาหารและยาของประเทศสหรัฐฯ (U.S.
FDA) สําหรับรักษาอาการตาเหล ตาปดเกร็ง และอาการใบหนากระตุกครึ่งซีก ใหใชในผูปวยที่มี
อายุ 12 ปขึ้นไป
ตาเหล ตาเข : ปริมาณยาที่ใช ประมาณ 1.25-2.5 ยูนิต/กลามเนื้อ หากอาการยังคงอยู
ี
ิ
ิ่
หรือเกดอาการอกสามารถฉีดซ้ําไดภายใน 7-14 วัน และอาจเพมปริมาณยาไดเปน 2 เทา แตไม
้
ั
้
ิ
ิ
ู
เกน 25 ยนต/กลามเนือ/ครง
ตาปดเกร็ง และโรคใบหนากระตุกครึ่งซีก : ปริมาณยาที่ใช คือ เริ่มตน 1.25-2.5 ยูนิต/
็
ื
้
ิ
ี
ํ
จด แตไมเกน 25 ยูนิต/ดวงตา 1 ขาง อาจฉดซาไดหากไมเหนผลหลังจากผานไป 2 เดอน โดย
ุ
ึ
ปริมาณยาสูงสุดภายใน 2 เดือนไมควรเกิน 200 ยูนิต ไดผลการรักษาที่ดีถง 85% ในบัญชียา
หลักแหงชาติไดระบุเงือนไขใหใช BoNT ในขอบงใชนี้
ี้
การฉีด BoNT รอบดวงตา ควรแนะนําใหใชยาหยอดตา ขผึ้ง คอนแทคเลนส หรือ
ึ้
อปกรณพิเศษทางการแพทยเพอชวยปกปองดวงตา และอาการจะดีขนภายใน 1-3 วัน ยาจะ
ื่
ุ
แสดงประสิทธภาพชัดเจนในเวลา 2-6 สัปดาหหลังการฉีด ผูปวยอาจมีอาการหนังตาตก ลืมตา
ิ
ไมขึ้น อาจตองหาอุปกรณชวยยึดดึงหนังตาขึ้นเพื่อใหลืมตาได
2.2 โรคคอบิด (cervical dystonia)
เปน focal dystonia ที่พบไดบอยที่สุด รองลงมาคือเปลือกตากระตุก และอนดับสาม
ั
คือโรคสายเสียงตึง อาการหดเกร็งคางของกลามเนื้อที่คอในบัญชียาหลักแหงชาติไดระบุเงื่อนไข
็
้
ี
การใช BoNT สําหรับขอบงใชน การฉด BoNT จะเหนผลในการรักษาชา คือ 2 สัปดาหหลังการ
ี
ฉีด และจะเห็นผลชัดเจนหลังจากฉีดยาไปแลว 6 สัปดาห
ฉีดที่ผิวหนังบริเวณคอ ปริมาณยาที่ใช คือ 95-360 ยูนิต ขึ้นอยูกับตําแหนงที่มีอาการ
ิ
ลักษณะอาการปวด และการตอบสนองของรางกาย แตไมควรเกน 50 ยูนิต/จุด/ครั้ง ปริมาณยา
สูงสุดในเวลา 3 เดือนไมควรเกิน 360 ยูนิต
~ 198 ~