Page 217 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 217

Pharmacology of Drugs acting on PNS                             อชิดา จารุโชติกมล

                              การใชประโยชนทางคลินกของ Botulinum toxin
                                                      ิ





               1.  บทนํา

                                                      ี
                 Clostridium botulinum  เปนเชื้อแบคทเรียกรัมบวกรูปแทงที่พบไดในดิน น้ํา และอาหาร
               เจริญไดดีในที่มีสภาวะออกซิเจนต่ํา   เชื้อจะสรางสปอรที่ทนความรอนไดดีและเมื่อมีสภาวะ
               แวดลอมเหมาะสมก็จะเจริญเปนเชื้อแบคทีเรีย  การแบงตัวของเชื้อจะเกดไดอยางรวดเร็วและ
                                                                             ิ
               สามารถสรางสารพษไดภายใน 3 วันในสภาวะที่เหมาะสม ไดแก มีความชื้น มีสภาพเปนกรด (pH
                               ิ
               4.5  ถึง  <7)  อุณหภูมิอยูในชวงประมาณ  5-48  องศาเซลเซียส  และมีออกซิเจนนอยกวา  2%
               สารพิษที่สรางขึ้นเรียกวา “Botulinum toxin” (BoNT หรือ BTX)  ซึ่งมีหลายชนิด (A-G) มีเพียง

               บางชนิด (A, B, E) ที่เปนสาเหตุทําใหเกิดอาการที่เรียกวา Botulism ในมนุษย การปนเปอนของ
               เชื้อแบคทีเรียชนิดนี้ในอาหารพบไดในหนอไมดอง เนื้อสัตว ปลา ถั่ว พริกไทย และผัก (แครอท)

               เปนตน นอกจากนี้ยังสามารถพบเชื้อนี้ในบาดแผลไดอีกดวย

                 BoNT  ออกฤทธิ์ยับยั้งการปลดปลอยสารสื่อประสาท  acetylcholine  (ACh)  จากปลาย
               ประสาทของ cholinergic neurons ซึ่งเปนเซลลประสาทที่สรางและหลั่งสารสื่อประสาท ACh

               ทําใหไมเกิดการสงสัญญาณคําสั่งตอใหเซลลถัดไป  cholinergic  neurons  พบไดในระบบ
                        ั
               ประสาทอตโนมัติและโซมาติก ทําใหเกิดผลไดอยางกวางขวางตอ กลามเนื้อลาย กลามเนื้อเรียบ
               โดยเฉพาะระบบยอยอาหารและขับถาย ตอมมีทอตาง ๆ เปนตน อาการ Botulism ของผูปวย

               เมื่อไดรับ BoNT เชน ตาพราามัว มองเห็นภาพซอนหรือไมชัด หนังตาตก พูดไมชัด กลืนลําบาก
                                                         ั้
               ปากแหง  และกลามเนื้อออนแรง  เปนตน  ซึ่งทงหมดเปนผลมาจากการยับยั้งการทํางานของ
               กลามเนื้อเรียบและกลามเนื้อลายตาง ๆ ทําใหอาการคลายเปนอัมพาต สารพิษนี้จึงเปนอันตราย

                                           
               สําหรับผูปวยที่มีภาวะกลามเนื้อออนแรง  หากกลามเนื้อระบบทางเดินหายใจเปนอัมพาตและให
               การรักษาไมทันอาจเปนสาเหตุการเสียชีวิตได อาการตาง ๆ จะเกิดขึ้นไดชา คือ 12-72 ชั่วโมง

               เปนตนไปหลังจากทไดรับสารพิษเขาไป  หรือเกิดไดเร็วกวานี้หากไดรับสารพิษเในปริมาณมาก  ๆ
                                            
                                ี่
               BoNT  ไมทนตอความรอน  (มากกวา  60-85  องศาเซลเซียส)  การปรุงอาหารใหสุกกอน
                                                               
               รับประทานจะชวยลดฤทธิ์ของสารพิษดังกลาวในอาหารได



                                                   ~ 196 ~
   212   213   214   215   216   217   218   219   220   221   222