Page 218 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 218

Pharmacology of Drugs acting on PNS                             อชิดา จารุโชติกมล


                                                                            ู
                                                                                      ื่
                 มีการศึกษาลําดับกรดอะมิโนของ  BoNT  และพัฒนาเปนยา  และถกนํามาใชเพอเปนการ
               รักษาแบบมาตรฐานสําหรับ  cervical  dystonia,  hemifacial  spasm,  blepharospasm,
               hyperhidrosis,  ophthalmological-otolaryngeal  disorders  (เชน  strabismus,

               spasmodic dysphonia, เปนตน) รวมถึงการใชประโยชนในดานความสวยงาม (ยกกระชับ ลด
               ริ้วรอย  ปรับสมมาตรใบหนา)  ปวดศีรษะไมเกรน  และยังมีขอบงใชอื่น  ๆ  ที่ยังตองการขอมูล

               เพิ่มเติมอก       เชน         ขอบงใชตอระบบทางเดินอาหารและระบบทางเดินปสสาวะ
                       ี
               (gastroenterologic-urologic  indications)  ขอบงใชสําหรับ  prostatic  dysfunction  และ

               asthma เปนตน (Truong & Jost, 2006)




               2.  การใชประโยชนทางคลินิก

                 BoNT         จัดเปนกลุมยาคลายกลามเนื้อ   รูปแบบยาฉีดเขาชั้นผิวหนังหรือใตผิวหนัง
               (intradermal หรือ subcutaneous) หรือฉีดโดยตรงเขากลามเนื้อเรียบ เห็นผลในการรักษาชา

               และมีฤทธิ์อยูไดไมเกิน  3-6  เดือนตองมาไดรับยาซ้ํา  การไดรับยาที่บอยเกินไปคือ  นอยกวา  3

               เดือนอาจจะทําใหประสิทธิภาพของยาลดลง ในหัวขอนี้จะกลาวถึงเฉพาะขอบงใชของ BONT ใน
               การรักษาโรคและภาวะอาการตาง ๆ โดยไมไดอธิบายการรักษาดวยแนวทางของยากลุมอื่น โดย

               แบงเนื้อหาในบทตามภาวะ/โรค ดังนี้

                   2.1  ภาวะอาการตาเหล ตาเข (strabismus) ตาปดเกร็ง ((Benign Essential
               Blepharospasm; BEB) และโรคใบหนากระตุกครึ่งซีก (hemifacial spasm)

                                                                                    ี่
                       ตาปดเกร็งหรือเปลือก/หนังตากระตุก ซึ่งเปนกลุมโรคของเปลือกตาทเคลื่อนไหว
                                                                ํ
               ผิดปกติ กลามเนื้อ orbicularis oculi มีอาการกระตุก ทาใหบีบตาหรือกระพริบตาแบบไม
                                  ิ
               สามารถควบคุมได เกดแมไมมีสิ่งกระตุนและอาจเปนมากจนตาปดและตาบอดในทสุด สวน
                                                                                       ี่
               อาการใบหนากระตุกครึ่งซีกคือภาวะที่มีกลามเนื้อนอกจากบริเวณใตดวงตาแลวยังมีที่บริเวณมุม

                                      
                                                         ิ้
               ปากที่ทํางานผิดปกติ ทําใหมีอาการตาหรี่ แสยะยม หรือปากเบี้ยวแบบผิดปกติ สาเหตุอาจเกิด
                                                                               ี
                                                                         ิ
                    ี
               จากมความเครียดวตกกงวล อดนอน ใชสายตามากเกินไป จนถึงเกดจากมความผิดปกติของ
                                ิ
                                    ั
               เสนประสาทที่มาที่บริเวณใบหนาและดวงตา

                                                   ~ 197 ~
   213   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223