Page 222 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 222

Pharmacology of Drugs acting on PNS                             อชิดา จารุโชติกมล


                          ื่
               รักษาแบบอนเทานั้น (โดยปกติจะรักษาดวย antimuscarinic drugs) และตองมั่นใจวาไมมี
                                              
               ภาวะติดเชื้อของทางเดินปสสาวะกอนใหยานี้ และควรระวังการใช BoNT ในผูปวยโรคตอม
               ลูกหมากโตดวย เนื่องจาก BoNT จะเพิ่มการคั่งคางของปสสาวะในกระเพาะปสสาวะ ซึ่งจะเพม
                                                                                             ิ่
                                                                              ั
                                   ึ้
                                                                       ื่
               โอกาสการติดเชื้อมากขน กรณีที่จําเปนอาจตองใหยาตานจุลชีพเพอปองกนการติดเชื้อไวดวย
                      
                                                   ุ
               ดอนให BoNT แตไมควรเลือกใชยาตานจลชีพกลุม Aminoglycosides เนื่องจากยามีฤทธิ์นี้
                                                        ิ
                                                 ั
                                                                                             ี
                                                           ั
                           
                                                                                ั
               สามารถทําใหกลามเนื้อคลายตัวไดเชนกน อาจเกดอนตรายหากใชยารวมกันกบ BoNT) การฉด
               BoNT จะฉีดที่บริเวณ detrusor muscle ของกระเพาะปสสาวะ (หลีกเลี่ยงการฉีดที่บริเวณ
                                                             ี
               trigone) โดยปริมาณยาที่ใชคือ 100-200 ยนิต แบงฉดเปน 20-30 จุด และการให BoNT ซ้ํา
                                                    ู
                                                           
               ควรเวนระยะเวลาหางกัน 6-12 เดือน

                   2.7 อาการผิดปกติของเซลลประสาทสั่งการสวนบน (upper motor neuron syndrome;
               UMNS)
                               ิ
                       สาเหตุเกดจากการมีรอยโรค (lesion) บริเวณดังกลาว (หรือเรียกวา pyramidal
                                                                           ั
                                                                                         ู
                                                                
                                                                        ิ
               insufficiency) ทําใหมการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ ไมวาจะเปน การหยบจบ การเดิน การพด การ
                                  ี
                                    
                                                                   ้
                                                                                    ิ
                                                                            ั
               กลืน และการหายใจ แบงอาการไดสองแบบ คือ แบบมีกลามเนือหดเกร็งตวผิดปกต (spasticity
               จัดเปน positive symptoms) และแบบกลามเนื้อออนแรง (ไมสามารถเคลื่อนไหวแยกสวนได
                                                                                            
               เคลื่อนไหวชา เทาตก เดินขาลาก พูดไมชัด ยกแขนไมได จัดเปน negative symptoms) ผูปวย
               จะมีอาการกลามเนื้อลายหดตัวจนไมสามารถคลายตัวไดเต็มที่ จึงเกดขอจํากัดในการเคลื่อนไหว
                                                                       ิ
               ของขอตอ การหดตัวของกลามเนื้อลายนี้ไมสามารถควบคุมได (จะคลายกับอาการ spasm  ของ
               กลามเนื้อเรียบ) การตรวจรางกายจะพบมี  Babinski sign (คือนิ้วโปงเทาจะงอขึ้นเมื่อกระตุนที่
               ฝาเทา) มี Deep tendon reflex เพิ่มขึ้น และมี Pronator drift (ไมสามารถยืดแขนไปขางหนา

                                           
               ระดับไหลโดยแบมือออกทั้งสองขางและคงทาเดิมไวสิบวินาทีขณะหลับตา) และการหดตัวของ
               กลามเนื้อที่มากเกินไปอาจเกิดอาการกลามเนื้อออนแรงตามมาได ดังนั้นอาจตองดูแลในเรื่องการ

                                                ิ
               กลืนอาหาร การหายใจของผูปวยเปนพเศษ  BoNT นั้นไมใชยาหลักในการรักษา แตอาจจะชวย
                                                                                 ึ้
               ในสวนการลดการหดตัวของกลามเนื้อ (spasticity) ทาใหขอตอใชการไดมากขน  (Esquenazi
                                                            ํ
                                                                
                                        
               et al., 2013) แตยาไมไดแกไขปญหารอยโรคของผูปวย ปริมาณยาที่ใช คือ 5-50 ยูนิตตอ
               ตําแหนง และปริมาณขึ้นกับตําแหนงที่ฉีด


                                                   ~ 201 ~
   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226   227