Page 201 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 201

Pharmacology of Drugs acting on PNS                             อชิดา จารุโชติกมล


                             เภสัชจลนศาสตร ยามีคาครึ่งชีวิต 24-44 ชั่วโมง ยาเมตาบอไลทที่ตับและขับ
                             ทางปสสาวะ

                             ผลขางเคียง ปากคอแหง และอาการที่พบนอย ไดแก ใจสั่น ทองผูก ปสสาวะ

                             ลําบาก ความดันลูกตาสูง เวียนศีรษะ เปนตน
                             การบริหารยา ยาพนทางปาก รูปแบบ MDI Respimat 2.5 และ 5 ไมโครกรัม

                             พนวันละ 1 ครั้ง สําหรับโรคหืด และโรค COPD ตามลําดับ,  รูปแบบ DPI
                              
                             Handihaler 18-36 ไมโครกรัม พนวันละ 1 ครั้ง สําหรับโรค COPD



                       3.1.3  Xanthine และอนุพันธ (methylxanthines) ไดแก Theophylline (orally),
                             Aminophylline (orally, IV)

                              กลไกการออกฤทธิ์

                               -  ยับยั้งเอนไซม cyclic nucleotide phosphodiesterase (isoenzyme I
                               ถึง V โดยเฉพาะ III และ IV) ซึ่งเปนเอนไซมที่เปลี่ยน cAMP และ cGMP เปน

                               5’-AMP และ 5’-GMP ตามลําดับ ทําใหมีระดับ cAMP/cGMP ในกลามเนื้อ

                                                                           
                                                     ึ้
                               เรียบของหลอดลมสูงมากขน (cAMP และ cGMP เปน second messengers
                                                                      
                               ที่กระตุนใหหลอดลมคลายตัว)  ยาจึงมีผลทําใหหลอดลมคลายตัว (ยากลุมนี้จะ
                                          +
                                                 +
                               ไมมีผลตอ Na  และ K  ATPase หรือ adenylyl cyclase)
                               -  ตานอักเสบ ยาจะยับยั้ง phosphodiesterase IV (ซึ่งเปน isoenzyme ที่
                                             ั
                                                                            ิ
                               พบมากในเซลลอกเสบ) (ซึ่ง theophylline ขนาดที่เกดฤทธิ์นี้มีขนาดต่ํากวา
                               ฤทธิ์ขยายหลอดลม (นอยกวา 10 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร) ซึ่งในขนาดนี้ทาให
                                                                                           ํ
                               เกิดผลขางเคียงต่ํา จึงนิยมใชยานี้เพื่อควบคุมอาการจากฤทธิ์ตานอักเสบ
                                      
                               มากกวาใชเพื่อขยายหลอดลม)

                               -  เพิ่มการการทํางานของ cilia ในการขับเสมหะ (mucociliary clearance)


                                                                     ิ์
                                     เปนยากลุมที่มีชวงการออกฤทธ (therapeutic index) แคบ
                               (therapeutic index คือ ระดับยาในเลือดที่ใหผลในการขยายหลอดลม
                               สําหรับยา theophylline มีคาเทากบ 10-20 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร) ถาระดับ
                                                             ั


                                                   ~ 180 ~
   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206