Page 200 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 200
Pharmacology of Drugs acting on PNS อชิดา จารุโชติกมล
โดยเฉพาะยาที่ออกฤทธิ์ยาว จะใชรวมกับยาอื่น ๆ สําหรับการควบคุมอาการ
หอบหืดเทานั้น (ปองกันการเกิด asthma attack)
Ipratropium bromide
กลไกการออกฤทธิ์ ยาออกฤทธิ์สั้น short-acting muscarinic antagonist
(SAMA) มีผลตอ muscarinic receptor ไดหลายชนิด อาจเพิ่มอัตราการเตน
ของหัวใจได (M2 receptor) ยานี้สามารถใชเปนยาเสริมรวมกับ SABA ในการ
บรรเทาอาการของโรคหืดกําเริบเฉียบพลันบางกรณี
ผลขางเคียงและขอควรระวัง
- อาการระคายคอ ปากแหง ตาแหง
- ระวังการใชนผูปวย narrow angle glaucoma และตอมลูกหมากโต
การบริหารยา
- เด็กอายุ < 2 ป; สูดพนทางปากในรูปของ Nebulization ขนาด 250 mcg
3 ครั้ง/วัน
- อายุ 3-14 ป ; สูดพนทางปากครั้งละ 1-2 puff 3 ครั้ง/วัน
- เด็กอายุ > 12 ปและผูใหญ; สูดพนทางปากในรูปของ Nebulization
ขนาด 500 ไมโครกรัม ให 3-4 ครั้ง/วัน
- อายุ > 14 ปขึ้นไป; สูดพนทางปากครั้งละ 2 puff 4 ครั้ง/วัน ทุก 4-6
ชั่วโมง
®
Tiotropium bromide (Spiriva )
กลไกการออกฤทธิ์ เปน long-acting muscarinic antagonist (LAMA) ยามี
กลไกการออกฤทธิ์เจาะจงกวา ipratropium bromide โดยจะมีกลไกยับยั้ง
เฉพาะที่ muscarinic 3 (M3) receptor สําหรับชยายหลอดลมในการรักษาโรค
หืดและโรค COPD แตไมเหมาะกับผูปวยอาการกําเริบเฉียบพลัน ใชกับผูปวย
อายุ 12 ปขึ้นไป
~ 179 ~