Page 205 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 205
Pharmacology of Drugs acting on PNS อชิดา จารุโชติกมล
ตารางที่ 7.2 การปรับยาหลังรักษาอาการกําเริบเฉียบพลันและอาการดีขึ้น (ดัดแปลงจาก GINA
guideline, 2021)
กรณียาที่ไดรับเดิมคือ คําแนะนําการปรับยาในชวงระยะสั้น ๆ (1-2
สัปดาห)
กลุมยาบรรเทาอาการ (reliever) แบบ As-needed
ICS (LD)+ formoterol * ผูปวยปรับเพิ่มความถี่ของการใหยาตามตองการ
SABA ผูปวยปรับเพิ่มความถี่ของการใหยาตามตองการ
(ผูปวยหืดไมควรไดรับเพียง SABA โดยไมมียา
ควบคุมอาการ เชน ICS)
กลุมยาควบคุมอาการ (controller+reliever) แบบ maintenance dose
ิ่
ICS + formoterol * คงไว และเพมยานี้เปนยาบรรเทาอาการแบบ as-
(controller) needed ดวย
ICS + formoterol * เพิ่มขนาด ICS + formoterol เปน 4 เทา
(controller)
มี SABA (reliever)
ICS (controller)+ ในผูใหญ ใหเพิ่มขนาด ICS ขึ้น 4 เทา
มี SABA (reliever)
ICS + LABA อื่น (controller)+ เพิ่มขนาด ICS + LABA
มี SABA (reliever) หรือในผูใหญพิจารณาการให ICS ยาเดี่ยวเพื่อเพิ่ม
ขนาดยาขึ้นเปน 4 เทา
ICS= inhaled corticosteroids, LD= low dose, SABA=short-acting beta-adrenergic receptor agonist,
LABA=long-acting beta-adrenergic receptor agonist
่
* สําหรับยา rapid-onset LABA (formoterol) ทีใหรวมกับ ICS (budesonide, beclomethasone) จดเปนยาทีมีผลทง ั ้
่
ั
ิ
ควบคมอาการและบรรเทาอาการทีกําเรบไดดวย พบวามีประสิทธภาพในการปองกนอาการกาเรบไดดีกวาการให SABA (ใน
ิ
ํ
ุ
่
ั
ิ
ขนาดใกลเคียงกันหรือขนาดที่สูงกวา) รวมกับการไดรับยาตานอักเสบ ดังนั้นจึงเหมาะเปนยาที่ใหผูปวยใชเพื่อเปนยา
่
่
ประจําตัวทั้งแบบที่มขนาดทีใหตอวันทแนนอน (maintenance dose) และใชยาไดเองเมือมีอาการ (as-needed)
ี
่
ี
~ 184 ~