Page 204 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 204
Pharmacology of Drugs acting on PNS อชิดา จารุโชติกมล
การรักษาอาการในสถานพยาบาล
1. ประเมินความรุนแรงของอาการ อาการรุนแรงนอยถึงปานกลางใหออกซิเจน โดย
ควบคุมให O saturation มากกวา 93-95% (เด็กให > 94-98%), ให SABA ตามอาการ (ซึ่ง
2
สามารถใหซ้ําไดทุก 20 นาทีใน 1 ชั่วโมง) และอาจให prednisolone (oral corticosteroids,
OCS) 40-50 มก. รับประทาน (เด็ก 6-11 ปใหขนาด 1-2 มก./กก. สูงสุด 40 มก.) หากอาการไม
ิ
ี
้
ุ
ดขึนจะรักษาแบบอาการรนแรง (อาจพิจารณาให epinephrine เฉพาะกรณีเกดอาการหอบหืด
ที่มีความเกี่ยวของกับการแพแบบ anaphylaxis หรือมีอาการตา-ปากบวม (angioedema))
2. กรณีทอาการรุนแรง มีการหายใจที่ลดลง หรือผูปวยหมดสติ ตองยายเขาหอง ICU โดย
ี่
ระหวางนั้นอาจให SABA+ipratropium bromide, ออกซิเจน และให systemic
corticosteroids (IV) และ high-dose ICS สังเกตอาการหลังจากนั้นอีก 1 ชั่วโมง
3. หากอาการดีขึ้น การเตรียมใหกลับบานจะพิจารณาใหยาขยายหลอดลมสําหรับบรรเทา
อาการแบบพนทางปากชนิดพกพาสะดวกโดยใหคงขนาดเดิมที่ไดอยู ใหยา OCS รับประทาน
ตอเนื่องตอไปจนครบ 5-7 วัน และ 3-5 วัน สําหรับเด็ก (ซึ่งการให OCS ระยะเวลานอยกวา 2
สัปดาห ไมจําเปนตองทํา dose tapering) นัดติดตามอาการภายใน 2-7 วันสําหรับผูใหญและ 1-
2 วันสําหรับเด็ก เริ่มหรือปรับเพิ่มกลุมยาควบคุมอาการตามระดับความรุนแรงของโรค (ตารางท ี่
7.2) ผูปวยสามารถใชยายายหลอดลมที่จัดใหไดตามความตองการ (as-needed) เพื่อบรรเทาอ
อาการไดเองแบบ self-management
ื่
4. ในวันที่มารับการตรวจเพอติดตามอาการ (follow up) หากพบวาอาการดีขึ้นปรับยา
บรรเทาอาการเปนการพนเมอมีอาการเทานั้น (as -needed) พิจารณาความจําเปนของยา OCS
ื่
วายังควรใหตอหรือไม คงใหยาควบคุมอาการในขนาดที่สูงกวาเดิมไวกอน 1-2 สัปดาห (อาจถึง 3
ํ
เดือนขึ้นกับประวัติอาการที่กาเริบ) หากมีการกําเริบมากกวา 1-2 ครั้ง/ป อาจตองประเมินปจจัย
เสี่ยงของการเกิดอาการและประเมินระดับคา lung function เชน FEV1, peak expiratory
flow rate (PEFR) เปนตน และตรวจสอบการใชยารวมถึงเทคนิคการพนยาของผูปวย
ขอมูลยาขยายหลอดลมที่ไดเขาบัญชียาหลักแหงชาติ ตัวอยางยาและรูปแบบยาขยาย
หลอดลมตาง ๆ ไดแสดงไวในตารางที่ 7.3 และ 7.4
~ 183 ~