Page 55 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 55
42 | เ บ ญ จ ม า ศ คุช นี โ รคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพ้นบ้านไทยในผ้ป่วยโ รคเบาหวาน | 43 | 43
ู
ื
ื ก พ น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน
โรค เ บ า ห ว า น แ ล ะ คุ ณ ป ระ โย ช น ข อ ง ผั
์
้
้
ิ
ื
่
ื
้
ื
ุ
้
ู
้
เพ่อควบคมระดับนาตาลในเลอด เครองมขนาดเลกสามารถพกพาได้งาย โดยผปวยต้อง ยากลุ่มนี้จะกระตุ้นการหลั่งของอนซูลินแล้ว ยังมีฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งกลูคากอนจากแอลฟ่า
่
ี
็
่
ั
้
่
ได้รบการสอดใสสายพลาสติกคางไว้ (catheter) ในส่วนใต้ผิวหนังบริเวณหน้าท้องซึ่ง เซลล์ ท้าให้อินซูลินสามารถเข้าจับกับตัวรับอินซูลินได้มากขึ้น
เหมาะกับผู้ป่วยที่จ้าเป็นต้องได้รับการควบคุมระดับน้้าตาลในเลือดอย่างเขมงวด เช่น หญิง
้
ตั้งครรภ์ หรือ ผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้้าตาล
3. อินซูลินแบบชนิดพ่นสูด (inhaled insulin) ส่วนใหญ่เป็น inhaled regular
insulin ซึ่งเป็นยาที่ออกฤทธิ์สั้น ส่วนใหญ่เป็นอินซูลินของมนุษย์ ซึ่งได้จากการผลิตด้วย
เทคโนโลยีพันธุวิศวกรรมศาสตร์ (recombinant DNA (rNDA) technique) จากการตัดต่อ
human proinsulin gene เข้าสู่ยีนของเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli หรือ
Saccharomyces cerevisiae และเปลี่ยน proinsulin ที่ได้เป็นอินซูลิน
การเก็บรักษาอินซูลิน
ขั้นตอนในการเก็บรักษาอินซูลิน จัดว่ามีความส้าคัญต่อประสิทธิผลในการรักษา ที่
มีความจ้าเป็นต้องแนะน้าผู้ป่วยโรคเบาหวานให้มีความเข้าใจที่ถูกต้อง ทั้งนี้เนื่องจาก
ึ
ปจจุบนมอนซลนหลากหลายรูปแบบ จงต้องอานคาแนะนา การใช้และการเกบรกษาของ
็
ั
่
้
้
ั
ั
ิ
ี
ิ
ู
อนซูลินชนิดนั้นและปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด โดยส่วนใหญ่แนะน้าให้เก็บอนซูลินในตู้เย็น
ิ
ิ
ี
่
ี
ุ
้
ิ
ิ
ุ
ุ
ที่อณหภูมิ 2-8 องศาเซลเซียส หากยงไมเปดขวดใช้อนซูลนจะมอายตามทระบไว้ขางขวด
ั
ิ
่
แต่ถ้าเปิดใช้แล้ว เก็บไว้ในตู้เย็นจะมีอายุไมเกิน 1 เดือน
่
2.1.2 Sulfonylureas
ยาในกลุ่ม sulfonylureas แบ่งออกเป็น 2 รุ่น โดยยาในรุ่นที่ 2 มีฤทธิ์แรงกว่ารุ่น รูปที่ 2-3: กลไกการออกฤทธิ์ของยากลุ่ม sulfonylureas (ดัดแปลงมาจาก
ิ
ที่ 1 ถึง 100 เท่า ยารุ่นที่ 1 ได้แก่ chlorpropamide, tolazamide, tolbutamide เป็น เอกสารอ้างองหมายเลข 6)
่
ต้น และยารุ่นที่ 2 ได้แก glibenclamide, glimepiride, glipizide เป็นต้น
กลไกการออกฤทธิ์
+
้
้
์
ยาปิดกั้น ATP-sensitivity K channel ในเบต้าเซลลของตับออน จงทาให KATP
่
ึ
+
+
channel ปิดลงและยับยั้งการไหลออกมาของ K ส่งผลให้เพิ่มระดับของ K ในเบต้าเซลล์
จึงท้าให้เกิด membrane depolarization ของเยื่อหุ้มเซลล์ มีผลให้เกิดการกระตุ้น
2+
2+
voltage-dependent Ca channel ท้าให้ Ca ไหลเข้าเซลล์จึงเกิดการกระตุ้นการ
ิ
(6)
หลั่งอนซูลินออกมาจากเบต้าเซลล์ท้าให้ลดระดับน้้าตาลในเลือด (รูปที่ 2-3) นอกจาก