Page 58 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 58
46 | เบญจมาศ คุชน นี โรค เ บ า ห ว า น แ ล ะ คุ ณ ป ระ โย ช น ข อ ง ผั ก พ น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน | 47
ี
46 | เ บ ญ จ ม า ศ คุช
้
ื
์
้
(2, 3)
ออกทางปัสสาวะเป็นหลัก ยามีค่าครึ่งชีวิตประมาณ 1 ชั่วโมง ต้องระวังการให้ยาในผู้ป่วย อาการไม่พึงประสงค์
โรคตับหรือโรคไต
1) ภาวะน้้าตาลในเลือดต่้า แต่พบน้อยกว่ายากลุ่ม sulfonylureas มักพบเมื่อผู้ป่วย
รับประทานอาหารช้าเกินไป หรือรับประทานอาหารที่มีปริมาณของคาร์โบไฮเดรตน้อย
เกินไป มีรายงานว่ายาในกลุ่มนี้ nateglinide มีผลกระตุ้นการหลั่งอินซูลินได้น้อยเมื่อผู้ป่วย
มีระดับน้้าตาลในเลือดปกติ มีอุบัติการณ์การเกิดระดับน้้าตาลในเลือดต่้าน้อยที่สุด เมื่อ
เปรียบเทียบกับยาในกลุ่มที่กระตุ้นการหลั่งอินซูลินชนิดอื่น ๆ
2) รบกวนการท้างานของระบบทางเดินอาหาร เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ไม่สบายท้อง
เป็นต้น
3) มองเห็นภาพไม่ค่อยชัดเจน
อันตรกิริยาระหว่างยา
ิ
ิ
้
ึ
์
เนองจากยาอาศยเอนไซม CYP3A4 ในการเกดเมแทบอลซึม จงตองระวังการให ้
่
ั
ื
ยาร่วมกับยาที่มีคุณสมบัติเป็น CYP3A4 inhibitors ได้แก่ ketoconazole, erythro-
mycin, gemfibrozil เพราะท้าให้ยากลุ่มนี้มีระดับสูงในเลือด อาจท้าให้เกิดภาวะน้้าตาล
ในเลือดต่้าอย่างรุนแรง นอกจากนี้ยังต้องระวังการให้ยาร่วมกับยาที่มีคุณสมบัติเป็น
CYP3A4 inducers ได้แก่ rifampicin, carbamazepine, phenobarbital เนื่องจากยา
เหล่านี้จะท้าให้ระดับยาลดลง และไม่สามารถลดระดับน้้าตาลในเลือดได้ตามต้องการ
รูปที่ 2-4: โครงสร้างทางเคมอของยากลุ่ม sulfonylureas และยากลุ่ม glitinides (2-4)
ี
2.1.4 Biguanides
ข้อบ่งใช้ทางคลินิก ตัวอย่างยาในกลุ่มนี้ ได้แก่ metformin, phenformin, buformin เป็นต้น
ใช้รักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ไม่สามารถใช้ยาในกลุ่ม sulfonylureas กลไกการออกฤทธิ์
ยากลุ่มนี้ต่างจากยากลุ่ม sulfonylureas คือ ยาออกฤทธิ์ได้รวดเร็ว (ช่วงเวลาออกฤทธิ์ ยากลุ่มนี้ออกฤทธิ์ลดระดับน้้าตาลในเลือด โดยเพิ่มความไวในการตอบสนองต่อ
นาน 4-5 ชั่วโมง) รับประทานยาก่อนอาหารประมาณ 15 นาทีและควบคุมระดับน้้าตาล อินซูลิน เพิ่มการท้างานของตัวรับอินซูลิน ท้าให้เซลล์กล้ามเนื้อและเซลล์ไขมันไวต่อ
หลังอาหารได้ดี โดยมักให้ร่วมกับยาชนิดอื่น เช่น metformin, glitazones เป็นต้น แต่ไม่ อินซูลินมากขึ้น ลดการสร้างกลูโคสจากตับ (gluconeogenesis) ลดการดูดซึมกลูโคสจาก
ใช้ร่วมกับยาในกลุ่ม sulfonylureas
ทางเดินอาหาร และสามารถกระตุ้นการท้างานของ adenosine 5’ monophosphate-
activated protein kinase (AMPK) ในเซลล์ตับ ท้าให้ลดการสังเคราะห์กลูโคส กรดไขมัน
และคอเลสเตอรอลในตับ ส่งผลให้ลดระดับไขมันในเลือดและลดน้้าหนักตัวลง