Page 56 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 56
44 | เบญจมาศ คุชน นี โรค เ บ า ห ว า น แ ล ะ คุ ณ ป ระ โย ช น ข อ ง ผั ก พ น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน | 45
ี
44 | เ บ ญ จ ม า ศ คุช
้
์
ื
้
เภสัชจลนศาสตร์ 3) ผู้ป่วยโรคตับหรือโรคไตเพราะท้าให้ขับยาออกจากร่างกายได้ช้า อาจท้าให้เกิด
ระดับน้้าตาลในเลือดต่้าได้ง่าย
้
ู
ี
ยากลมนถกดูดซึมผานเขาทางเดินอาหารได้ดี แต่อาหารมผลลดการดูดซึมของยา 4) ผู้ที่มีประวัติแพ้ยากลุ่ม sulfonamides เนื่องจากยามีโครงสร้างทางเคมีคล้ายกัน
ุ
่
้
ี
่
ั
ึ
ี
ั
่
้
ี
้
ิ
ั
้
ดังนนจงต้องบรหารโดยใหยากอนอาหารประมาณ 30 นาท ยาเขาจบกบพลาสมาโปรตน 5) การเจ็บป่วยที่รุนแรง ได้แก่ การติดเชื้อรุนแรง กล้ามเนื้อหัวใจตาย (myocardial
สูงถึง 90% ผ่านเมแทบอลิซึมที่ตับ และถูกขับออกทางปัสสาวะในรูปเมแทบอไลท์ ดังนั้น infarction) การผ่าตัด ควรหยุดยารับประทานแล้วใช้การฉีดอินซูลินแทน
ควรระวังการใช้ยาในผู้ที่มีการท้างานของตับและไตบกพร่อง ยาในรุ่นที่ 1 ออกฤทธิ์สั้น
ประมาณ 6-12 ชั่วโมง แต่ยาในรุ่นที่ 2 ออกฤทธิ์ได้นานถึง 24 ชั่วโมง อันตรกิริยาระหว่างยา
1) ยากลุ่ม salicylates ยากลุ่ม sulfonamides และ clofibrate เนื่องจากยา
ข้อบ่งใช้ทางคลินิก
เหล่านี้แย่งกับ sulfonylureas ในการเข้าจับกับพลาสมาโปรตีนท้าให้เกิดรูปอิสระของ
ยากลุ่มนี้ใช้ในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โดยอาจใช้เป็นยาเดี่ยว หรือใช้ร่วมกับ sulfonylurea ในกระแสเลือดมากกว่าปกติ จึงท้าให้ระดับน้้าตาลในเลือดต่้าได้ง่าย
ยากลุ่มอ่น เช่น biguanides, thiazolidinediones, DPP-4 inhibitors เป็นต้น ส่วนใหญ่ 2) ยากลุ่ม salicylates ยากลุ่ม sulfonamides, allopurinol และ probenecid
ื
ผู้ป่วยตอบสนองต่อยาได้ดีในช่วงแรก แต่เมื่อใช้ยาเป็นระยะเวลานานผู้ป่วยมักเกิดปัญหา ยับยั้งการขับยาในกลุ่ม sulfonylureas ออกทางไต ท้าให้มีระดับ sulfonylureas ใน
ั
้
ิ
การตอบสนองต่อยาลดลง ทงนอาจเกดจากเบต้าเซลลไมสามารถผลตอินซลนได้อีกแลว กระแสเลือดสูง
์
่
ิ
้
ี
้
ิ
ู
ยานี้ใช้ไม่ได้ผลกับผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 1 เพราะเบต้าเซลล์ถูกท้าลายไปแล้ว 3) ยาที่มีฤทธิ์ยับยั้งการท้าลายของ sulfonylureas เช่น ยากลุ่ม monoamine
oxidase inhibitors (MAOIs) ยากลุ่ม H2-receptor antagonists
อาการไม่พึงประสงค์
(3-5)
2.1.3 Glitinides
1) ภาวะน้้าตาลในเลือดต่้า โดยฉพาะผู้สูงอายุ พบว่า chlorpropamide ท้าให้เกิด
ความเสี่ยงต่อภาวะน้้าตาลในเลือดต่้ามากกว่า tolazamide และ tolbutamide ตัวอย่างยาในกลุ่มนี้ ได้แก่ repaglinide, nateglinide เป็นต้น
ิ
์
่
ั
2) หากให้ chlorpropamide รวมกบแอลกอฮอลอาจเกดอาการ disulfiram-like กลไกการออกฤทธิ์
้
reactions หรืออาการแพเหล้า เช่น หน้าแดง ปวดศีรษะ ใจสั่น มึนงง เป็นต้น อันเนื่องมา
ั
จากยาไปยับย้งการเปลี่ยนแปลงของแอลกอฮอล์ในร่างกาย ท้าให้เกิดการคั่งของสารที่ ยาออกฤทธิ์กระตุ้นการหลั่งอินซูลินด้วยกลไกเดียวกันกับยากลุ่ม sulfonylureas
ี
เรียกว่า อะเซตัลดีไฮล์ (acetaldehyde) จึงท้าให้เกิดอาการดังกล่าว แต่สูตรโครงสร้างทางเคมีของยากลุ่มนี้ ไม่ม sulfur เป็นส่วนประกอบ (รูปที่ 2-4) จึง
3) เพิ่มความอยากอาหารมากขึ้น ท้าให้น้้าหนักตัวเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะในช่วงระยะแรก สามารถใช้ได้ในผู้ที่แพ้ยากลุ่ม sulfonylureas
ที่ได้รับยา เภสัชจลนศาสตร์
4) ภาวะดีซ่านที่เกดจากการอุดกั้นการไหลของน้้าดี (cholestatic jaundice)
ิ
ยาถูกดูดซึมผ่านทางเดินอาหารได้ดี ยาเมแทบอลิซึมโดยอาศัยเอนไซม์ CYP3A4 ที่
ข้อห้ามใช้ ตับและขับออกทางน้้าดี repaglinide ออกฤทธิ์ได้เร็วภายใน 1 ชั่วโมง ใช้ส้าหรับควบคุม
1) ผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 1 ระดับน้้าตาลในเลือดหลังรับประทานอาหาร และออกฤทธิ์นาน 4-7 ชั่วโมง ยามีค่าครึ่งชีวิต
2) หญิงตั้งครรภ์ (ยาจัดอยู่ใน pregnancy category C) และหญิงให้นมบุตร เพราะ ประมาณ 1 ชั่วโมง ส่วน nateglinide เป็นอนุพันธ์ของ D-phenylalanine ถูกดูดซึมผ่าน
ยาสามารถผ่านรกและน้้านมได้ เข้าทางเดินอาหารได้อย่างรวดเร็วภายใน 20 นาที ออกฤทธิ์ได้สูงสุดใช้เวลาน้อยกว่า 1
ชั่วโมง และออกฤทธิ์ได้นานถึง 4 ชั่วโมง ยาจับกับโปรตีนในพลาสมาได้สูงถึง 98% ในขั้นเม
ั
ู
แทบอลิซึมยาอาศัยเอนไซม์ CYP2C9 เป็นหลักและ CYP3A4 เป็นเอนไซม์รอง และถกขบ