Page 51 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 51

38 | เ บ ญ จ ม า ศ  คุช นี    โ รคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพ้นบ้านไทยในผ้ป่วยโ รคเบาหวาน | 39 | 39
                                                                       ู
                                                          ื
                                                        ื ก พ น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน
                     โรค เ บ า ห ว า น แ ล ะ คุ ณ ป ระ โย ช น ข อ ง ผั
                                                  ์
                                                                       ้
                                                          ้


 2.1.1 อินซูลิน   เลือดด้า ปลอดภัยในหญิงตั้งครรภ์ ออกฤทธิ์เร็ว และเสี่ยงต่อการเกิดภาวะ hypoglycemia
                  ได้น้อย มักให้ร่วมกับ long-acting insulin
 กลไกการกระตุ้นการหลั่งอินซูลินและบทบาททางสรีรวิทยาของอินซูลิน ได้อธิบาย  3) ออกฤทธิ์ปานกลาง  (intermediate-acting insulin)  เช่น  isophane insulin
 ่
 เบื้องต้นแล้วในบทที่ 1 เมื่อน้้าตาลกลูโคสเข้าสู่เบต้าเซลล์ของตับออน โดยอาศัยตัวขนส่ง  suspension (neutral protamine Hagedorn หรือ NPH), insulin zinc suspension
 กลโคส (glucose transporter; GLUT) จากนั้นกลูโคสจะถูกเติมฟอสเฟตด้วยเอนไซม์   (Lente insulin), neutral protamine lyspro เป็นต้น ใช้ส้าหรับฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ไม่ใช้
 ู
 ิ
 ้
 glucokinase แล้วเกดปฏิกรยา phosphorylation ไดผลผลิต glucose-6-phosphate   ฉีดเข้าหลอดเลือดด้า ไม่ใช้ในภาวะ diabetic ketoacidosis หรือกรณีฉุกเฉิน มักให้ร่วมกับ
 ิ
 ิ
 ็
 (G-6-P) ก่อนเกิดกระบวนการ glycolysis ได้เปนพลังงาน ATP โดย ATP ที่ได้จะส่งผลให้  regular insulin
 ปิด ATP-sensitive K  channel (K ATP channel) ท้าให้เกิด membrane depolarization
 +
 2+
 2+
 2+
 จากนั้นเหนี่ยวน้าให้เปิด voltage-gated Ca  channel ท้าให้ Ca  ไหลเข้าสู่เซลล์ (Ca    4) ออกฤทธิ์ยาว (long-acting insulin) เช่น extended zinc insulin (ultralente
 influx) กระตุ้นให้ granule เกดกระบวนการ exocytosis แล้วจึงมีการหลั่งของอนซูลิน  insulin), insulin glargine, insulin detemir เป็น insulin analog ที่ออกฤทธิ์นาน หลัง
 ิ
 ิ
 (5)
 ออกจากเบต้าเซลล์ของตับอ่อน    ฉีดเข้าใต้ผิวหนังจะเริ่มออกฤทธิ์ใน 2-5 ชั่วโมง โดยระดับอินซูลินในเลือดค่อย ๆ เพิ่มขึ้น
                  อย่างช้า ๆ แล้วคงที่ และมีฤทธิ์นาน 18-24 ชั่วโมง
 เภสัชจลนศาสตร์
 (3, 4)
                                                              ิ
                                      ิ
                         ปัจจุบันการใช้อนซูลินในทางคลินิก นิยมใช้อนซูลินรูปแบบที่มีการผสมส้าเร็จรูป
 เมื่ออินซูลินถูกหลั่งจากเบต้าเซลล์ของตับอ่อนเข้าสู่กระแสเลือด  ประมาณร้อยละ   (premixed insulin) ในอัตราสวนตาง ๆ เช่น  70% NPH insulin + 30% regular
                                             ่
                                                  ่
 ่
 50  จะถูกท้าลายที่ตับ  ส่วนที่เหลือถูกท้าลายที่ไตและกล้ามเนื้อ  อินซูลินมีคาครึ่งชีวิตใน  insulin เพื่อความสะดวกของผู้ป่วยในการใช้
 เลือดประมาณ  6  นาที  โดยทั่วไปให้อินซูลินด้วยการฉีดเข้าใต้ผิวหนัง  ไม่ให้ด้วยการ
 รับประทานเพราะอินซูลินถูกท้าลายในทางเดินอาหาร  สามารถให้อินซูลินทางหลอดเลือด
 ุ
 ด้าได้เช่นกัน  โดยเฉพาะในกรณีฉกเฉิน  เช่น  ภาวะที่มีกรดคีโตนคั่งในกระแสเลือด
 (diabetic ketoacidosis) มักให้ชนิด regular insulin และ insulin lispro เพราะออกฤทธิ์
 เร็วและสั้น
 ยาเตรียมของอินซูลิน สามารถแบ่งออกได้ 4 ชนิดหลัก ตามเวลาของการเริ่มออก

 ฤทธิ์ (onset of action) ระยะเวลาการออกฤทธิ์ (duration of action) (รูปที่ 2-2) (ตาราง
 ที่ 2-2)


 1) ออกฤทธิ์สั้นมาก (ultra-short หรือ rapid-acting insulin) เช่น insulin lispro,
 insulin aspart และ insulin glulisine ซึ่งจัดเป็น analog ของอินซูลินของมนุษย์ที่ออก
 ฤทธิ์เร็วกว่า  regular insulin  ยาถูกดูดซึมและออกฤทธิ์ได้ดี  สามารถให้ก่อนรับประทาน

 อาหาร  15 นาที     รูปที่ 2-2:  เวลาการเริ่มออกฤทธิ์ และระยะเวลาการออกฤทธิ์ของอินซูลินที่ได้จาก
 2) ออกฤทธิ์สั้น (short-acting insulin) เช่น regular insulin (RI) ให้โดยการฉีดเข้า  มนุษย์และอินซูลินชนิดต่าง ๆ (ดัดแปลงมาจากเอกสารอ้างอิงหมายเลข 3)

 ุ
 ใต้ผิวหนัง  (subcutaneous injection)  และยังสามารถใช้กรณีฉกเฉินโดยให้ทางหลอด
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56