Page 48 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 48

36 | เบญจมาศ คุชน นี                                                                                           โรค เ บ า ห ว า น แ ล ะ คุ ณ ป ระ โย ช น ข อ ง ผั ก พ น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน | 37
                             ี
           36 | เ บ ญ จ ม า ศ  คุช
                                                                                                                                                              ื
                                                                                                                                                                            ้
                                                                                                                                                      ์
                                                                                                                                                              ้


                                                   ิ
               ▪  เพ่มการทางานของฮอรโมนในทางเดนอาหาร (incretin) และลดความอยาก                                          2.1  เภสัชวิทยาของยารักษาโรคเบาหวาน
                     ิ
                                       ์
                           ้

           อาหาร                                                                                                              หลักการส้าคัญในการรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวาน   มักเริ่มด้วยการรักษาที่ไม่ใช้ยา
                    ิ่
               ▪  เพมการขับกลูโคสออกทางปัสสาวะโดยยับยั้งการท้างานของ sodium-glucose                                    (non-pharmacological treatment)  ควบคู่กับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพ
           cotransporter 2 (SGLT2) receptor                                                                            เน้นด้านโภชนบ้าบัด ส่งเสริมให้มีกิจกรรมทางกายอย่างเพยงพอ การออกก้าลังกายให้เป็น
                                                                                                                                                                      ี
                  สิ่งส้าคัญที่สุดในการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพ คือ ความร่วมมือจากผู้ป่วยในการ                          กิจวัตรประจ้าวันและควบคุมน้้าหนักตัวให้ใกล้เคียงค่ามาตรฐาน แต่ถ้าหากการปรับเปลี่ยน
           ใช้ยาอยางถกต้องและเหมาะสม พบแพทยตามนดเพ่อติดตามระดับนาตาลในเลอด และ                                         พฤติกรรมทางสุขภาพของผู้ป่วยไม่ได้ผล  จ้าเป็นต้องให้ยาลดระดับน้้าตาลในเลือด  (phar-
                     ู
                                                                     ้
                                                                     ้
                                                                              ื
                                                    ั
                  ่
                                               ์
                                                       ื
                                  ิ
                                            ุ
                      ่
           การปรับเปลยนพฤตกรรตกรรมทางสขภาพ (lifestyle modification) อย่างเคร่งครัด                                     macological treatment)  ควบคู่ไปด้วย  ยาที่ใช้รักษาโรคเบาหวานในทางคลินิกใน
                             ิ
                      ี
           ทั้งนี้เพอป้องกันหรือชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่อหลอดเลือดขนาดเล็กและหลอด                                     ปัจจุบัน สามารถแบ่งย่อยตามกลไกการออกฤทธิ์ของยาได้ 6 กลุ่มใหญ่ (ตารางที่ 2-1)
                 ื่
           เลือดขนาดใหญ่ รวมถึงผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีระหว่างได้รับการรักษา
                                                                                                                       ตารางที่ 2-1: สรุปยาที่ใช้รักษาโรคเบาหวาน (ดัดแปลงมาจากเอกสารอ้างอิงหมายเลข 3)

                                                                                                                               ยารักษาโรคเบาหวาน                         ตัวอย่างยา
                                                                                                                        อินซูลิน                           Short-acting insulin: regular insulin
                                                                                                                                                           Intermediate-acting insulin: lente insulin
                                                                                                                                                           Long-acting insulin: ultralente insulin
                                                                                                                        ยากระตุ้นการหลั่งอินซูลิน          ยากลุ่ม sulfonylureas
                                                                                                                        (insulin secretagogues)               รุ่นที่ 1: tolbutamide, chlorpropamide
                                                                                                                                                              รุ่นที่ 2: glibenclamide, glipizide
                                                                                                                                                           ยากลุ่ม glitinides: nateglinide, repaglinide
                                                                                                                        ยาที่เพิ่มความไวต่ออินซูลิน        ยากลุ่ม biguanides: metformin, phenformin
                                                                                                                        (insulin sensitizers)              ยากลุ่ม thiazolidinediones: pioglitazone
                                                                                                                                     
                                                                                                                        ยายับยั้งเอนไซม์ -glucosidase     Acarbose, voglibose
                                                                                                                        (-glucosidase inhibitors)
                                                                                                                        ยาที่เพิ่มการท างานของฮอร์โมนในทางเดิน  ยาออกฤทธิ์คล้าย incretin (incretin mimetics)

            รูปที่ 2-1: กลไกการออกฤทธิ์ของยาที่ใช้รักษาโรคเบาหวาน (ดัดแปลงมาจาก                                         อาหาร                                  GLP-1 agonist: exenatide, liraglutide
            เอกสารอ้างอิงหมายเลข 1)                                                                                                                            DPP-4 inhibitors: sitagliptin, saxagliptin
                                                                                                                                                               Amylin analog: pramlintide
                                                                                                                        ยาที่เพิ่มการขับกลูโคสออกทางปัสสาวะ   ยาที่ยับยั้ง sodium-glucose cotransporter
                                                                                                                                                           2 (SGLT2) inhibitors: dapagliflozin,

                                                                                                                                                           canagliflozin
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53