Page 52 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 52
40 | เบญจมาศ คุชน นี โรค เ บ า ห ว า น แ ล ะ คุ ณ ป ระ โย ช น ข อ ง ผั ก พ น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน | 41
ี
40 | เ บ ญ จ ม า ศ คุช
ื
้
์
้
ตารางที่ 2-2: ข้อมูลของยาเตรียมอินซูลินชนิดต่าง ๆ (ดัดแปลงข้อมูลมาจากเอกสาร ข้อบ่งใช้ของอินซูลิน
หมายเลข 3) 1) ผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 1
2) ผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้้าตาลในเลือดได้ หลังใช้
ยาเตรียมอินซูลิน ระยะเวลาที่ยา เวลาออกฤทธิ์ ช่วงเวลาออกฤทธิ์ ยาลดระดับน้้าตาลแบบรับประทาน ควบคู่กับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพ
เริ่มออกฤทธิ์ สูงสุด 3) ผู้ป่วยโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ หรือเกิดอาการหลังการผ่าตัดเอาตับอ่อนออก
ออกฤทธิ์สั้นมาก เข่น 5 - 15 นาที 1 – 1.5 ชั่วโมง 3 - 4 ชั่วโมง 4) ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีภาวะ ketoacidosis
insulin lispro, 5) ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีโรคตับหรือโรคไตร่วมด้วย ท้าให้ไม่สามารถใช้ยาลดระดับ
aspart, glulisine น้้าตาลในรูปแบบรับประทาน
อาการไม่พึงประสงค์
ออกฤทธิ์สั้น 30 - 60 นาที 2 ชั่วโมง 6 - 8 ชั่วโมง
1) หากได้รับอินซูลินมากเกินไป อาจท้าให้ระดับน้้าตาลในเลือดต่้า (hypoglycemia)
เช่น Human regular
เกิดอาการ ใจสั่น มือสั่น เหงื่อออกมาก หัวใจเต้นเร็ว เวียนศีรษะ อ่อนเพลีย หน้ามืดเป็นลม
ออกฤทธิ์ปานกลาง 2 - 4 ชั่วโมง 6 - 7 ชั่วโมง 10 - 20 ชั่วโมง และอาจรุนแรงถึงมีอาการชัก ไม่รู้สึกตัวและอาจเสียชีวิตได้ วิธีแก้ไขเบื้องต้น โดยให้ดื่ม
น้้าหวาน หรืออมลูกอม หากอาการรุนแรงมากให้ฉีดกลูโคสเข้าทางหลอดเลือดด้า
เช่น Human NPH
้
2) เกิดปฏิกิริยาการแพอินซูลิน ซึ่งการแพ้เป็นแบบ immediate type hypersen-
ออกฤทธิ์ยาว sitivity มีอาการผื่นเฉพาะที่หรือทั่วร่างกาย เกิดเนื่องจากมการหลั่ง histamine จาก mast
ี
insulin glargine 0.5 – 1 ชั่วโมง ไมมี 24 ชั่วโมง cell ซึ่งถูกกระตุ้นด้วย anti-insulin IgE antibodies พบได้กรณีที่ใช้อินซูลินที่สกัดจาก
่
สัตว์
่
insulin detemir 0.5 – 1 ชั่วโมง ไมมี 17 ชั่วโมง 3) มีก้อนนูน (lipohypertrophy) หรือรอยบุ๋ม (lipoatrophy) บริเวณที่ฉีดอินซูลิน
่
insulin deludec 0.5 – 1.5 ชั่วโมง ไมมี มากกว่า 42 ชั่วโมง เนื่องจากเนื้อเยื่อไขมันบริเวณที่ฉีดอินซูลินซ้้าต้าแหน่งเดิมเป็นเวลานาน จึงเกิดการฝ่อหรือ
หนาตัวขึ้น
การบริหารอินซูลิน
ปัจจุบันมีการพัฒนารูปแบบอนซูลินให้มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น จากเดิมนิยม
ิ
ใช้การฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเลือกใช้ตามความเหมาะสมของผู้ป่วยในแต่
ละราย
1. อินซูลินแบบพกพา (portable pen injector) เป็นรูปแบบที่เตรียมอินซูลินใน
หลอดบรรจุยา (cartridge) พร้อมเสร็จ ซึ่งเป็นอุปกรณ์น้าส่งยาที่มีลักษณะคล้ายปากกา ท้า
ให้ผู้ป่วยสะดวกในการพกพาโดยเฉพาะการเดินทาง
ิ
2. อนซูลินในรูปแบบปั๊มให้ต่อเนื่อง (continuous subcutaneous insulin infu-
ิ
ุ
sion (CSII) devices (insulin pump) เป็นอปกรณ์ที่สามารถตั้งโปรแกรมการฉีดอนซูลิน