Page 46 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 46
โรค เ บ า ห ว า น แ ล ะ คุ ณ ป ระ โย ช น ข อ ง ผั ก พ น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน | 35
ื
้
์
้
บทที่ 2 หลักการรักษาโรคเบาหวาน
บทน า
โรคเบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังทางเมแทบอลิซึมที่มีระดับน้้าตาลในเลือดสูงที่
่
ิ
่
ี
ั
่
ี
้
ั
์
เกดจากความผดปกติของรางกายทสาคญ 2 ประการ คือ เบต้าเซลลของตบออนมความ
ิ
บกพร่องในการหลั่งอินซูลิน และ ร่างกายเกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน ซึ่งความผิดปกติเหล่านนี้
ส่งผลให้ร่างกายไม่สามารถเปลี่ยนน้้าตาลเป็นพลังงานที่น้าไปใช้ได้ และไม่สามารถจัดเก็บ
น้้าตาลจากเลือดเข้าสู่เซลล์ จึงท้าให้มีระดับน้้าตาลในเลือดสูงกว่าปกติ โรคเบาหวานมักมี
์
่
การดาเนินของโรคแบบคอยเปนคอยไป โดยเบต้าเซลล (-cells) ของตับออนจะค่อย ๆ
่
้
่
็
เสื่อมหน้าที่ลงตามระยะเวลาของโรค อกทั้งเป็นโรคเรื้อรังที่รักษาไม่หายขาด แต่ผู้ป่วย
ี
สามารถควบคุมระดับน้้าตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ โดยการควบคุมการ
้
รบประทานอาหารอยางเครงครด การออกกาลงกายอยางสมาเสมอ และใช้ยาลดระดบ
ั
่
้
่
ั
ั
่
ั
่
น้้าตาลในเลือดในขนาดที่ถูกต้องและเหมาะสมอย่างต่อเนื่อง
ี
ยาทใช้รกษาโรคเบาหวานในปัจจบัน สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทตาม
ั
่
ุ
ั
ิ
ั
ู
ี
วิธีการใช้ยา คือ ยารับประทาน และ ยาฉดอนซลน ตามหลกการรักษาโรคเบาหวานมก
ิ
ี
เริ่มต้นด้วยการให้ยารับประทานก่อนเนื่องจากมีความสะดวกในการใช้และจัดเก็บยา อก
ทั้งง่ายต่อการบริหารจัดการ แต่ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมระดับน้้าตาลในเลือดได้ดี ต้อง
ื่
ปรับเปลี่ยนมาใช้ยาฉีดอินซูลินแทน ซึ่งผู้ป่วยจ้าเป็นต้องฝึกทักษะในการฉีดเองเพอป้องกัน
การติดเชื้อ และต้องจัดเก็บยาให้เหมาะสมเพื่อป้องกันการเสื่อมคุณภาพของอินซูลิน
ในรูปที่ 2-1 ได้แสดงให้เห็นภาพรวมของยาที่ใช้รักษาโรคเบาหวานในปัจจุบัน
(1-4)
สามารถแบ่งย่อยตามกลไกการออกฤทธิ์ในการลดระดับน้้าตาลในเลือด ได้แก่
▪ กระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากตับอ่อน
▪ เพิ่มการน้ากลูโคสเข้าเซลล์ และน้าไปใช้เป็นพลังงาน ช่วยลดภาวะการดื้ออนซูลิน
ิ
และลดการสร้างกลูโคสจากตับ
▪ ลดการหลั่งกลูคากอน
▪ ยับยั้งการย่อยและการดูดซึมกลูโคสจากทางเดินอาหารเข้าสู่กระแสเลือด