Page 41 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 41

28 | เ บ ญ จ ม า ศ  คุช นี    โ รคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพ้นบ้านไทยในผ้ป่วยโ รคเบาหวาน | 29 | 29
                                                                       ู
                                                          ้
                                                                       ้
                                                          ื
                     โรค เ บ า ห ว า น แ ล ะ คุ ณ ป ระ โย ช น ข อ ง ผั
                                                  ์
                                                        ื ก พ น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน


                      ิ
                                              ้
 ึ้
 creatinine  ไตเสื่อมมากขนจนเข้าสู่ภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย  โดยมักพบร่วมกับ  ที่มีอทธิพลต่อการเกิดภาวะแทรกซอนต่อหลอดเลือดขนาดใหญ่และขนาดเล็กของผู้ป่วย
                                                    ึ
                                                    ่
 ภาวะความดันโลหิตสูง  อาการแสดง  ได้แก่  บวม  ออนพลีย  คลื่นไส้  อาเจียน  ซึมและไม่  บางปัจจัยเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนได้  ซงจะช่วยท้าให้ชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนและ
 ่
                                     ี
                                          ิ่
 รู้สึกตัว        ลดอัตราการเสียชีวิต อกทั้งเพมคุณภาพชีวิตต่อผู้ป่วยได้
                    ตารางท 1-6: ปัจจัยเสี่ยงที่สัมพันธ์ต่อการเกดภาวะแทรกซ้อนที่หลอดเลือดขนาดเล็ก และ
                         ี่
                                                      ิ
 (3) ภาวะแทรกซ้อนต่อเส้นประสาทจากโรคเบาหวาน (diabetic neuropathy)
                                                   ิ
 พบภาวะนี้ได้บ่อยมากทั้งในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 1 และชนิดที่ 2 พยาธิ  ขนาดใหญ่ (ดัดแปลงมาจากเอกสารอ้างองหมายเลข 13)

 กาเนดของความผดปกติน เกดจากหลอดเลือดฝอยที่เลี้ยงเส้นประสาทมีการหนาตัวและ     ภาวะแทรกซ้อนต่อระบบต่าง ๆ ของร่างกาย
 ิ
 ิ
 ้
 ี
 ิ
 ้
 อุดตัน ท้าให้เส้นประสาทบริเวณนั้นขาดเลือดไปเลี้ยง ส่งผลท้าลายเส้นใยประสาท (axon)   ปัจจัยเสี่ยงของผู้ป่วย  ตา   ระบบ  ไต   หัวใจ   สมอง   ระบบ
 และส่วนปลอกห้มประสาท (myelin) จึงท้าให้การส่งสัญญาณหรือกระแสประสาทช้าลง   โรคเบาหวาน   ประสาท   ประสาท
 ุ
 ผู้ป่วยจึงมความรู้สึกหรือมีการตอบสนองของรีเฟล็กซ์ลดลง ผลที่มีต่อระบบประสาทส่วน  ส่วนกลาง   ส่วนปลาย
 ี
 ื
 ปลาย (peripheral neuropathy) ผู้ป่วยมักมีอาการชา ปวดแสบปวดร้อนตามปลายมอ
 ้
 ปลายเทา ผลของอาการชาที่เท้า ค่อนข้างอนตรายเพราะผู้ป่วยจะไม่รู้สึกเจ็บถึงแม้จะเกิด  ระดับน้้าตาลในเลือดสูง   /   /   /   /   /   /
 ั
 แผลที่เท้า จะทราบก็ต่อเมื่อมีการติดเชื้อลุกลามมากแล้ว ท้าให้แผลมีเนื้อตายจนต้องตัด  การสูบบุหรี่   /   /   /   /   /
 นิ้วเท้าหรือรุนแรงถึงขั้นตัดเท้าหรือตัดขาในที่สุด
                    ระดับไขมันในเลือดผิดปกติ   /     /        /       /
 นอกจากความผดปกติของเส้นประสาทส่วนปลายเสื่อม อาจพบว่ามีผลต่อ  โรคไต   /
 ิ
 ้
 เสนประสาทสมองได้ (mononeuropathy) เส้นประสาทสมองที่พบความผิดปกติบ่อย
 ได้แก่ เส้นประสาทสมองคู่ที่ 3 (oculomotor nerve) เส้นประสาทสมองคู่ที่ 4 (trochlear   รับประทานอาหารไขมันสูง   /
 nerve) และเส้นประสาทสมองคู่ที่ 6 (abducens nerve) ซึ่งท้าให้การกลอกตาบนและ  ความดันโลหิตสูง      /      /   /   /
 ล่างผิดปกติ เส้นประสาทคู่ที่ 7 (facial nerve) ท้าให้เกิดอัมพาตของใบหน้าครึ่งซีก (facial
 palsy)             ภาวะอ้วน                                          /                /
                    ภาวะอัลบูมินรั่วออกมาใน          /        /               /
 ส่วนผลต่อระบบประสาทอัตโนมัติที่พบบ่อย  ได้แก่  เส้นประสาทที่มาเลี้ยงต่อม
 เหงื่อที่ผิวหนัง ระบบทางเดินอาหาร ระบบสืบพันธุ์ ระบบหัวใจและหลอดเลือด ท้าให้ผู้ป่วย  ปัสสาวะ (30-300 มก./วัน)
 มีอาการเหงื่อออกน้อย ผิวหนังแห้ง อาหารไม่ย่อย คลื่นไส้ อาเจียน แน่นท้อง อุจจาระร่วง   กิจกรรมทางกายน้อย            /      /
 ปัสสาวะคั่ง  กระเพาะปัสสาวะอกเสบ  สมรรถภาพทางเพศเสื่อมและความดันโลหิตต่้าเมื่อ  ภาวะกรดคีโตนคั่งในกระแส     /
 ั
 เปลี่ยนอิริยาบถ เป็นต้น   เลือด


 ้
 จากขอมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่าหากผู้ป่วยโรคเบาหวานไม่สามารถควบคุมระดับ
 ้
 น้้าตาลในเลือดได้ตามเกณฑ์ จะน้าไปสู่ภาวะแทรกซอนทั้งชนิดเฉียบพลันและชนิดเรื้อรังได้
 ซึ่งท้าให้เกิดอันตรายในระดับความรุนแรงน้อยไปถึงมาก  ดังนั้นสิ่งส้าคัญในการดูแลรักษา
 ผู้ป่วย  คือ  การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนต่าง  ๆ  โดยการคัดกรองตรวจหาโรคในระยะเริ่ม
 แรก การพยากรณ์โรคการรักษาและติดตามผลการรักษา ในตารางที่ 1-6 แสดงปัจจัยเสี่ยง
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46