Page 62 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 62

50 | เบญจมาศ คุชน นี                                                                                           โรค เ บ า ห ว า น แ ล ะ คุ ณ ป ระ โย ช น ข อ ง ผั ก พ น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน | 51
                             ี
           50 | เ บ ญ จ ม า ศ  คุช
                                                                                                                                                                            ้
                                                                                                                                                      ์
                                                                                                                                                              ้
                                                                                                                                                              ื


               2)  พิษต่อตับ ควรติดตามค่าการท้างานของตับอย่างสม่้าเสมอ                                                        อาการไม่พึงประสงค์

                  อันตรกิริยาระหว่างยา                                                                                        อาการที่พบบ่อย เช่น ปวดท้อง ถ่ายเหลว ท้องอืด แน่นท้อง ผายลมบ่อย เนื่องจาก
                                                                                                                       คาร์โบไฮเดรตที่ไม่ถูกย่อยจะถูกหมักท้าให้เกิดแก๊สในล้าไส้ ไม่พบอาการรุนแรง แต่ควรต้อง
                                                                                    ั
                                                                       ั
                  ยากลุ่มนี้ลดระดับยาคมกาเนดในเลอด ควรเลยงการใช้รวมกน และยาอาศย                                        หลีกเลี่ยงการใช้ยาในผู้ป่วยที่มีปัญหาของระบบทางเดินอาหาร โดยเฉพาะผู้ที่มีล้าไส้อุดตัน
                                                          ี
                                                 ื
                                                                   ่
                                                          ่
                                            ิ
                                      ุ
                                        ้
           CYPs หลาย isoforms ในการเกิดเมแทบอลิซึมก่อนขับยาออกจากร่างกาย ดังนั้นต้อง                                   หรือล้าไส้อักเสบ (inflammatory bowel disease) acarbose อาจท้าให้ระดับเอนไซม์ตับ
           ระวังการให้ยาที่มีคุณสมบัติยับยั้งหรือเหนี่ยวน้า CYPs เหล่านั้น
                                                                                                                       สูงขึ้น ดังนั้นควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
                   2.1.6  -glucosidase inhibitors
                                                      (3)
                          

                  ตัวอย่างยาในกลุ่มนี้ ได้แก่ acarbose, voglibose, miglitol

                                  (7)
                  กลไกการออกฤทธิ์

                  ยาทั้งสามชนิดในกลุ่มนี้ออกฤทธิ์ยับยั้งการท้างานของเอนไซม์ -glucosidase ที่
           brush border  ของล้าไส้เล็ก  ซึ่งเอนไซม์นี้มีหน้าที่ย่อยคาร์โบไฮเดรตในรูปโอลิโกแซคคา
           ไรด์  (oligosaccharides)  และรูปไดแซคคาไรด์  (disaccharides)  ให้เป็นรูปโมโนแซคคา
           ไรด์ (monosaccharides) เช่น กลูโคส เพื่อให้สามารถดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย ผลยับยั้งการ
           ท้างานของเอนไซม์นี้จึงท้าให้ร่างกายดูดซึมกลูโคสได้น้อยลงและช้าลง ช่วยลดระดับน้้าตาล

           ในเลือดหลังรับประทานอาหารได้ดี  นอกจากยา  acarbose  จะสามารถยับยั้งการท้างาน
           ของเอนไซม์ -glucosidase แล้วยังสามารถยับยั้งการท้างานของเอนไซม์ -amylase ที่

                                  ่
           ถูกหลั่งจากน้้าลายและตับออนซึ่งมีหน้าที่ย่อยคาร์โบไฮเดรตเช่นกัน (รูปที่ 2-5) ยากลุ่มนี้ไม่
           มีฤทธิ์กระตุ้นการหลั่งของอินซูลิน จึงไม่มีผลท้าให้เกิดภาวะน้้าตาลในเลือดต่้า


                  เภสัชจลนศาสตร์

                                                                    ี
                                                       ้
                                                                ู
                                                                    ่
                  Acarbose ถกดูดซมจากทางเดินอาหารได้นอย และถกเปลยนแปลงโดยแบคท        ี
                                  ึ
                             ู
           เรียในล้าไส้ ส่วน miglitol ถูกดูดซึมผ่านทางเดินอาหารได้ดี โดยยาถูกขับออกทางปัสสาวะ
           ในรูปเดิม                                                                                                    รูปที่ 2-5 : กลไกการออกฤทธิ์ของยากลุ่ม -glucosidase inhibitors  (ดัดแปลงมา

                  ข้อบ่งใช้ทางคลินิก                                                                                    จากเอกสารอ้างอิงหมายเลข 7)

                  สามารถใช้เป็นยาเดี่ยวในการรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 หรือใช้ร่วมกับยา
           กลุ่ม sulfonylureas หรือ metformin เพื่อช่วยลดระดับน้้าตาลในเลือดหลังรับประทาน

           อาหาร ดังนั้นต้องรับประทานยาก่อนอาหาร
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67