Page 67 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 67
54 | เ บ ญ จ ม า ศ คุช นี โ รคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพ้นบ้านไทยในผ้ป่วยโ รคเบาหวาน | 55 | 55
ู
้
ื ก พ น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน
้
ื
์
โรค เ บ า ห ว า น แ ล ะ คุ ณ ป ระ โย ช น ข อ ง ผั
(3, 4)
อาการไม่พึงประสงค์ 2.1.9 Amylin analog
้
ี
ุ
ยาไม่ท้าให้เกิดระดับน้้าตาลในเลือดต่้า แต่อาจพบการติดเชื้อในทางเดินหายใจ ตัวอย่างยาในกลุ่มนี้ เช่น pramlintide ยานเป็นอนพันธุของ amylin ซงเป็นเปป
ึ
่
ั
่
ส่วนบน (เช่น nasopharyngitis) และ อุจจารระร่วง ไทด์ที่ถูกหลั่งออกมาจากเบต้าเซลล์ของตับออนพร้อมกบอินซูลินหลังรับประทานอาหาร มี
ั
บทบาทช่วยควบคุมระดับน้้าตาลในเลือด ซึ่งพบว่าผู้ป่วยที่ขาดอนซูลินมกจะขาด amylin
ิ
ด้วย
กลไกการออกฤทธิ์
ยาออกฤทธิ์คล้าย amylin คือยาเข้าจับกับ amylin receptor แล้วท้าให้ระดับ
น้้าตาลในเลือดลดลง และกดการท้างานของกลูคากอนในเลือด นอกจากนี้ยังยืดเวลา
gastric emptying time ให้ยาวนานขึ้น ท้าให้ผู้ป่วยมีความอยากอาหารลดลง
เภสัชจลนศาสตร์
ยาถูกดูดซึมได้เร็วหลังฉีดเข้าใต้ผิวหนัง และออกฤทธิ์ได้นานประมาณ 2.5 ชั่วโมง
ยาถูกเปลี่ยนแปลงที่ตับและถูกขับออกทางปัสสาวะ ควรให้ยาผู้ป่วยทันทีก่อนรับประทาน
อาหาร
อาการไม่พึงประสงค์
ิ
ิ
1. ภาวะน้้าตาลในเลือดต่้า หากให้ยานี้ร่วมกับอนซูลินต้องพจารณาลดขนาดของ
อินซูลินลง ร้อยละ 50 เพราะอาจท้าให้ผู้ป่วยเกิดภาวะน้้าตาลในเลือดต่้าเกินไป
2. รบกวนระบบทางเดินอาหาร เช่น คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร
3. อาจท้าให้เกิดเพลีย เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ เป็นต้น
รูปที่ 2-6 : กลไกการออกฤทธิ์ของยากลุ่ม DPP-4 inhibitors (ดัดแปลงมาจาก ข้อบ่งใช้ทางคลินิก
เอกสารอ้างอิงหมายเลข 2) ใช้รักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานทั้งชนิดที่ 1 และชนิดที่ 2 เพื่อควบคุมระดับน้้าตาลใน
ค าย่อ: DPP-4: dipeptidyl peptidase-4;GLP-1: glucagon-like peptide-1 เลือดหลังรับประทานอาหาร