Page 68 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 68
56 | เบญจมาศ คุชน นี โรค เ บ า ห ว า น แ ล ะ คุ ณ ป ระ โย ช น ข อ ง ผั ก พ น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน | 57
ี
56 | เ บ ญ จ ม า ศ คุช
ื
์
้
้
2.1.10 SGLT2 inhibitors (4, 10) เภสัชจลนศาสตร์
ยาถูกดูดซึมจากทางเดินอาหารได้ดี มีค่าครึ่งชีวิตประมาณ 10-17 ชั่วโมง ยาถูก
ยากลุ่มนี้จัดเป็นยารักษาโรคเบาหวานกลุ่มใหม่ที่มีเป้าหมายอยู่ที่บริเวณท่อไต
ตัวอย่างยาในกลุ่มนี้ ได้แก่ dapagliflozin, canagliflozin, empagliflozin, ertugliflozin เปลี่ยนแปลงโดยอาศัยปฏิกิริยา glucuronidation ก่อนถูกขับออกทางปัสสาวะ
ข้อบ่งใช้ทางคลินิก
กลไกการออกฤทธิ์
สามารถใช้เป็นยาเดี่ยวในการรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 หรือใช้ร่วมกับยา
Sodium-glucose cotransporter 2 (SGLT2) เป็นกลไกการขนถ่ายกลูโคสและ ชนิดอื่นในการลดระดับน้้าตาลในเลือด ข้อดีของยานี้ คือ ช่วยลดน้้าหนักตัวและลดระดับ
โซเดียมออกมาพร้อมกันที่ไตในส่วน proximal convoluted tubule ไตส่วนนี้มีบทบาท ความดันโลหิต
ในการดูดซึมกลูโคสกลับ (reabsorption) เข้าสู่ renal tubular cells ซึ่งกระบวนการนี้ อาการไม่พึงประสงค์: อาการที่พบบ่อย ได้แก่ การติดเชื้อที่บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
เป็น active transport มีการขนส่งกลูโคสจากบริเวณที่มีความเข้มข้นต่้าไปยังบริเวณทมี และทางเดินปัสสาวะ
ี่
+
ความเข้มข้นสูงได้ การดูดซึมกลับของกลูโคสเกิดร่วมกับการน้าเอาโซเดียม (Na ) เข้าสู่
เซลล์ (รูปที่ 2-7) ดังนั้นการยับยั้งการท้างานของ SGLT2 จึงเป็นการยับยั้งการดูดซึมกลับ จากขอมูลทางเภสัชวิทยาของยารักษาโรคเบาหวานหัวข้อ 2.1.1 - 2.1.10 ได้สรุป
้
ิ่
ึ้
ของกลูโคสที่บริเวณ proximal tubule ส่งผลให้มีการขับกลูโคสออกทางปัสสาวะเพมขน กลไกการออกฤทธิ์ ข้อดี ข้อด้อยและข้อระวังในการใช้ยาในตารางที่ 2-3 และข้อมูลยาใน
ท้าให้เกิดภาวะมีน้้าตาลในปัสสาวะ (glycosuria หรือ glucosuria) และยังมีผลลดระดับ บัญชียาหลักแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2564 ได้สรุปในตารางที่ 2-4
น้้าตาลในเลือด นอกจากนี้ยังมีผลลดน้้าหนักตัวอีกด้วย
รูปที่ 2-7 : กลไกการออกฤทธิ์ของยากลุ่ม SGLT2 inhibitors (ดัดแปลงมาจาก
เอกสารอ้างอิงหมายเลข 10)