Page 65 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 65
52 | เ บ ญ จ ม า ศ คุช นี โ รคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพ้นบ้านไทยในผ้ป่วยโ รคเบาหวาน | 53 | 53
ู
้
้
ื
โรค เ บ า ห ว า น แ ล ะ คุ ณ ป ระ โย ช น ข อ ง ผั
์
ื ก พ น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน
2.1.7 GLP-1 agonists (3-5, 8) อาการไม่พึงประสงค์
ยาในกลุ่มนี้ออกฤทธิ์เพมการท้างานของฮอร์โมนในทางเดินอาหาร ออกฤทธิ์คล้าย อาการที่พบบ่อย ได้แก่ คลื่นไส้ อาเจียน อุจจาระร่วง น้้าหนักตัวลด ระวังการเกิด
ิ่
ฮอรโมน incretins หรอเรยกว่า incretin mimetics ซึ่ง incretins เป็นฮอร์โมนที่พบใน ภาวะน้้าตาลในเลือดต่้า หากใช้ยาร่วมกับยาในกลุ่ม sulfonylureas
์
ี
ื
ทางเดินอาหารที่ช่วยเพมฤทธิ์ของกลูโคสในการกระตุ้นการหลั่งอนซูลิน ปัจจุบันได้มีการ ข้อห้ามใช้
ิ่
ิ
ิ
น้า incretins มาใช้ในทางคลนก คอ glucagon-like peptide-1 (GLP-1) ซึ่ง GLP-1 คือ
ื
ิ
สารที่ถูกหลั่งออกมาจาก L-cells ของล้าไส้เล็กหลังรับประทานอาหาร แต่ถูกท้าลายด้วย ห้ามใช้ยานี้ร่วมกับอนซูลินเพราะจะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้้าตาลในเลือดต่้าอย่าง
ิ
เอนไซม์ dipeptidyl peptidase-4 (DPP-4) ท้าให้ GLP-1 มีค่าครึ่งชีวิตสั้น ดังนั้นจึงมีการ รุนแรง
พัฒนายารักษาโรคเบาหวานที่ออกฤทธิ์กระตุ้น GLP-1 receptor และยับยั้งเอนไซม DPP- (2, 4, 9)
์
์
ิ
ื
4 เพ่อเพ่มระดับของฮอรโมน incretins ตัวอย่างยาในกลุ่ม GPL-1 agonists ได้แก่ 2.1.8 DPP-4 inhibitors
้
่
exenatide, liraglutide ยากลุ่มนี้เป็น analog ของ GLP-1 ซ่งทนตอการทาลายของ ตัวอย่างยาในกลุ่มนี้ ได้แก่ sitagliptin, saxagliptin
ึ
เอนไซม DPP-4
์
กลไกการออกฤทธิ์
กลไกการออกฤทธิ์ ยายับยั้งการท้างานของเอนไซม์ DPP-4 ท้าให้ GLP-1 และ incretins อยู่ในกระแส
ยาออกฤทธิ์โดยเข้าจับกับ GLP-1 receptor ในตับอ่อน ทางเดินอาหารและสมอง เลือดนานขึ้น จึงช่วยเสริมฤทธิ์กลูโคสในการกระตุ้นการหลั่งอินซูลินและยับยั้งการหลั่งกลู
ยามีฤทธิ์กระตุ้นการหลั่งอินซูลิน แต่ลดการหลั่งกลูคากอน เพิ่ม gastric emptying time คากอน (รูปที่ 2-6) เพิ่ม gastric emptying time ให้ยาวนานขึ้น ช่วยลดระดับน้้าตาลใน
ให้ยาวนานขึ้น ช่วยลดความอยากอาหาร เนื่องจากยาออกฤทธิ์กระตุ้น GLP-1 receptor เลือดหลังอาหาร
ในสมอง ท้าให้น้้าหนักตัวลดลงเมื่อใช้ยาในระยะยาว ยานี้ช่วยลดระดับน้้าตาลในเลือดหลัง
รับประทานอาหารเช่นเดียวกับกลุ่ม -glucosidase inhibitors เภสัชจลนศาสตร์
เภสัชจลนศาสตร์ ยาอยู่ในรูปแบบรับประทาน ถูกดูดซึมได้ดีจากทางเดินอาหาร มีค่าครึ่งชีวิต
ประมาณ 8-14 ชั่วโมง ยาถูกขับออกทางปัสสาวะในรูปเดิม
ยาถูกดูดซึมหลังฉีดเข้าใต้ผิวหนัง พบระดับยาสูงสุดในเลือดภายใน 2 ชั่วโมง มี
ระยะเวลาในการออกฤทธิ์นานกว่า 10 ชั่วโมง ควรฉีดยานี้ก่อนอาหาร 1 ชั่วโมง ข้อบ่งใช้ทางคลินิก
ข้อบ่งใช้ทางคลินิก สามารถใช้เป็นยาเดี่ยวในการรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 หรือให้ร่วมกับยา
อื่น เช่น metformin
สามารถใช้รักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ร่วมกับยาชนิดอื่น เช่น metformin
หรือยากลุ่ม sulfonylureas เพื่อควบคุมระดับน้้าตาลในเลือดหลังรับประทานอาหาร