Page 220 - การคุ้มครองผู้บริโภคด้านยาและสุขภาพสำหรับประชาชน
P. 220

บทท 12 ผู้บริโภคสีเขียว
                                                     ี่


                                                                        อิสรา จุมมาลี และ สมศักดิ์ อาภาศรีทองสกุล


                        จากการเพมขึ้นของประชากร กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์ทั้งการผลิตและการบริการได้เปลี่ยนวิถี
                                 ิ่
                                                         ุ
                 ชีวิตของคนทั้งโลกและรวมถึงคนไทยไปสู่การอปโภคบริโภคที่มีการใช้พลังงานและทรัพยากรธรรมชาติอย่าง
                      ื
                                                                                                      ึ
                                                                 ิ่
                  ุ่
                 ฟมเฟอย การบริโภคที่มากขึ้นในปัจจุบัน ส่งผลต่อการเพมการผลิตและการก่อให้เกิดผลพลอยได้ไม่พงประสงค์
                 จากการผลิต คือขยะต่าง ๆ ปริมาณขยะที่มากขึ้นส่งผลให้เกิดกระบวนการท าลาย และปลดปล่อยสารพาบาง
                                                         ั
                 ประการสู่สิ่งแวดล้อม และสุดท้ายผลกระทบอนน าไปสู่มลภาวะของสิ่งแวดล้อมบนโลกใบนี้ การค านึงถึงการ
                 บริโภคสินค้าและบริการที่มีคุณภาพและความปลอดภัย จึงไม่เพียงพอ จ าเป็นต้องค านึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจาก

                 การบริโภคด้วย เพื่อให้เกิดการบริโภคอย่างยั่งยืนในคนรุ่นปัจจุบันและอนาคต ส าหรับสินค้าและบริการในรูปแบบ
                 ที่ไม่เกิดผลกระทบด้านลบต่อเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นความรับผิดชอบร่วมกันของทุกคน ทั้งใน

                 ฐานะที่เป็นผู้บริโภค เป็นผู้รับมีหน้าที่รับผิดชอบการคุ้มครองผู้บริโภคในด้านต่าง ๆ ซึ่งต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของ

                 เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค ทั้งที่เป็นรัฐบาล ธุรกิจ องค์กรทางสังคม และผู้บริโภค ไม่เฉพาะแต่องค์กรด้าน
                 สิ่งแวดล้อม ในการส่งเสริมการบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน รวมทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม


                                                                                     ิ
                        การจัดการสิ่งแวดล้อมในประเทศไทยเดิมมุ่งไปที่ผู้ผลิตซึ่งเป็นผู้ก่อมลพษโดยตรง ซึ่งเป็นการควบคุม
                     ิ
                 มลพษที่ปลายเหตุ ต่อมาจึงส่งเสริมแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) ซึ่งประกอบไปด้วย
                                                                                             ิ
                 การผลิตที่ยั่งยืน (Sustainable Production) เช่น การผลิตที่สะอาด และการป้องกันมลพษ และการบริโภคที่
                 ยั่งยืน (Sustainable Consumption) ในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม การบริโภคอย่างยั่งยืนได้ค านึงถึงความ
                 ต้องการของลูกค้าเป็นปัจจัยส าคัญที่มีอิทธิพลต่อผู้ผลิต หากผู้บริโภคเรียกร้องให้ผู้ผลิตปรับปรุงคุณภาพของสินค้า

                 และบริการในเรื่องสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ผู้ผลิตก็จะให้ความส าคัญกับการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมตามความต้องการ

                 ของลูกค้า ดังนั้นวิธีง่าย ๆ ที่เราจะสามารถมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมได้โดยสนับสนุนให้ผู้บริโภคมา
                 เลือกซื้อเฉพาะผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมหรือที่เรียกว่า “ผลิตภัณฑสีเขียว” หรือ Green
                                                                                            ์
                 Products



                 เนื้อหา



                    •   ผู้บริโภคสีเขียว (Green Consumer) คืออะไร
                    •   ท าไมต้องเป็นการบริโภคสีเขียว

                    •   ลักษณะพิเศษของผู้บริโภคสีเขียว

                    •   พฤติกรรมสีเขียว

                    •   ผลิตภัณฑ์สีเขียว (Green products)

                    •   โครงการฉลากเขียว
   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224   225