Page 154 - Microsoft Word - ANS 1 ËŽ
P. 154

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล

                   Spasticity เปน hypertonic muscle disorders ซึ่งมกเกิดจากการม chronic
                                                                     ั
                                                                                      ี
                                                                                   ิ
                                                                                             ั
               neurological disorders โดยมีตนเหตุอยูที่ upper motor neuron ซึ่งอาจเกด lesion อน
               เนื่องจาก stroke, spinal cord injury, multiple sclerosis เปนตน spasticity นี้มกจะพบวา
                                                                                     ั
               คงอยูตลอดชีวิต โดยอาจจะมีอาการรุนแรงขึ้นเปนบางครั้ง

                                                                    ี
                   Skeletal muscle spasm เปนกลามเนื้อลายยึดติดเฉยบพลัน (acute stiffness) ซึ่ง
                   ั
               สัมพนธกบการปวดกลามเนื้อและกระดูก ทําใหการเคลื่อนไหวไมคลองตัว สาเหตุมักมาจากท ี่
                       ั
                      
                                                                                         ิ
               กลามเนื้อลายบาดเจ็บ ฟกช้ํา กลามเนื้อลายมีความเครียด เปนตน หรือบางครั้งอาจเกดจาก
               กระบวนการอักเสบ หรือเกิดจากความผิดปกติของเซลลประสาท ซึ่งจําเปนตองไดรับการรักษาที่
                                                           
               เฉพาะเจาะจง โดยทั่วไปมักพบวาการหดเกร็งจะเปนผลมาจากการใชกลามเนื้อมากกวาปกติ
               สวนมากแลวอาการของ muscle spasm มักจะเปน self–limiting และหายหรือดีขึ้นเองภายใน

               4–7 วัน โดยไมจําเปนตองรักษา สําหรับยาคลายกลามเนื้อ (muscle relaxant) นั้นจัดเปนเพยง
                                                                                            ี
               สวนประกอบเทานั้น ไมมีประโยชนมากนัก centrally acting muscle relaxants ที่ใชในการ

               รักษาการหดเกร็งนั้น โดยทั่วไปแลวไมคอยมีประสิทธิภาพในการรักษามากนัก นอกจากนี้ยัง
               ไมไดมีผลเฉพาะเจาะจงตอ musculoskeletal system แตไปมีผลกด centrally controlled
                 
               functions อื่น ๆ

                   5.1 Mephenesin (กลุมที่ 1)
                   กลไกการออกฤทธิ์ : กลไกการออกฤทธิ์ของยาในกลุมนี้เชื่อวาจะกดการทํางานของ

               internuncial  cells ทําใหพวก  polysynaptic reflex  ถูกกด ยาในกลุมนี้ยังทําใหเกิดงวงหลับ

                                            
                                                    
               (sedation  และ drowsiness) เปนอาการขางเคียงที่สําคัญ ทั้งนี้อาจเพราะยาเหลานี้จะกดการ
               ทํางานของระบบประสาทสวนกลางที่มีหนาที่สําคัญในสวนการกระตุนใหตื่นตัวดวย
                                 
                   Mephenesin เปนยาที่เริ่มใชในป ค.ศ. 1940 โดยจัดเปน prototype ของยาในกลุมนี้ แต
               ในปจจุบันยานี้ไมมีการจําหนายแลว ทั้งนี้เพราะจากการศึกษาและประเมินผลปรากฏวา ยานี้ไม
                                        
               คอยใหผลในการรักษาถึงแมวาในขนาดสูง mephenesin สามารถลด motor tone ในคนได
               แตผลดังกลาวเปนเพยงระยะสั้น ๆ เนื่องจากถกเปลี่ยนแปลง (glucuronide conjugation) ได
                                                      ู
                                 ี
               อยางรวดเร็ว การเปลี่ยนแปลงนี้อาจถกขดขวางไดเมื่อ esterify สวนของ alcoholic hydroxy
                                               ู
                                                  ั
                                                          
                                       
               group ของ mephenesin ดวย carbamic acid เชนกรณีของ mephenesin carbamate การ
               ใชยาในรูป carbamate มีขอเสียคือ จะไปเสริม non-specific CNS depression


                                                   ~ 133 ~
   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159