Page 39 - ตำราเภสัชวิทยาของยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนปลาย
P. 39

Pharmacology of Drugs acting on PNS                                อชิดา จารุโชติกมล


               3.  กระบวนการสื่อสารระหวางเซลลประสาทที่บริเวณ synapse  เกิดตามลําดับ ดังนี้
               โดยปกติเซลลประสาทมีการนําเขาสารตั้งตนเพื่อสราง และสะสมสารสื่อประสาทไวใน vesicle

               membrane โดยนําสารตั้งตนเขามาในเซลลประสาทผาน transporter (ดังภาพที่ 1.8 ใน

               ขั้นตอนที่ 1 และ 2)
                  1. การเกิด presynaptic membrane depolarization

                  2. การเกิด depolarization ของ presynaptic membrane ทําใหเกิดการไหลเขา (influx)
                                                               2+
                      2+
               ของ Ca  เขามาใน presynaptic terminal ผานทาง Ca  channel
                            ิ่
                  3. การเพมขน ขอ ง  Ca ใน   presynaptic terminal ทําให เกิ ดการก ร ะ ตุ น
                                          2 +
                                ึ้
                                                                             ํ
               calcium/calmodulin dependent protein kinase II (CAM II) และทาให vesicle เริ่ม
               เคลื่อนที่ โดยเกดกระบวนการ phosphorylation และไปเกาะติดกับ plasmalemma ของ
                             ิ
                                                          ี่
               presynaptic membrane (ภาพที่ 1.8 ในขั้นตอนท 3)
                       ิ
                  4. เกดกระบวนการ exocytosis ของสารสื่อประสาทใน vesicle ซึ่งจะแพรผาน (diffuse)
               ไปในบริเวณของ synaptic cleft และจะมีการนํา vesicle นั้นกลับมาใชใหม (recycling) ดวย

               (ภาพที่ 1.8 ในขั้นตอนท 4)
                                   ี่
                  5. สารสื่อประสาทที่หลั่งออกมาที่ synaptic cleft นั้นจะแพรไปหลายทางคือ (ภาพที่ 1.8
               ขั้นตอนที่ 5)

                                     ู
                                                                                        ็
                                         ็
                                                                                            
                      5.1 สวนหนึ่งจะถกเกบกลับ (uptake) เขา presynaptic knob โดยนําไปเกบไวใน
                                                                                          ี่
                                                                     ็
               vesicles เชนเดิม โดยกระบวนการ active transport (ในการเกบกลับนี้เปนกลไกสําคัญทชวย
               กาจัดสารสื่อประสาทที่หลั่งออกมาแลวโดยเฉพาะสารสื่อประสาทกลุม biogenic amines เชน
                 ํ
               5-HT, DA และ NE ซึ่งจะถก uptake กลับถึง 65-80% ของปริมาณที่หลั่งออกมา) (ภาพที่ 1.8
                                      ู
               ในขั้นตอนที่ 5.1)
                      5.2 บางสวนจะถูกทําลายโดยเอนไซมในบริเวณของเหลวที่อยูรอบ ๆ synaptic cleft ที่
               อื่น ๆ หรือถูกไฮโดรไลซิส (ภาพที่ 1.8 ในขั้นตอนที่ 5.2)

                                     
                                                                                          ิ
                                                                                     ํ
                                            ั
                      5.3 บางสวนจะเขาไปจับกบ autoreceptor (presynaptic receptor) ทาใหเกดผล
               การยับยั้งการสรางและการหลั่งของสารสื่อประสาทจากปลายประสาท (feedback inhibition)
                                               
               ซึ่งเปนการควบคุมสมดุลของการสงขอมูลขาวสารระหวางเซลล membrane (ภาพที่ 1.8 ใน
               ขั้นตอนที่ 5.3)


                                                    ~ 19 ~
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44