Page 15 - เบญจมาศ คุชนี โรคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพื้นบ้านไทย 2565
P. 15
โ รคเบาหวานและคุณประโยชน์ของผักพ้นบ้านไทยในผ้ป่วยโ รคเบาหวาน | 3 | 3
ู
์
้
ื
โรค เ บ า ห ว า น แ ล ะ คุ ณ ป ระ โย ช น ข อ ง ผั
้
ื ก พ น บ้ าน ไท ย ใ น ผู ป่ ว ย โ ร ค เ บ าห ว าน
บทที่ 1 โรคเบาหวาน
บทน า
โรคเบาหวาน คือ ภาวะที่ร่างกายมีความผิดปกติในกระบวนการเปลี่ยนน้้าตาลใน
่
ิ
เลือดให้เป็นพลังงาน โดยกระบวนการนี้ต้องอาศัยฮอร์โมนอนซูลินซึ่งสร้างจากตับออนใน
ี
การควบคุมระดับน้้าตาลในเลือด โรคเบาหวานเกิดจากร่างกายมความผิดปกติของเซลล์ใน
์
ตับอ่อน หรือ ฮอรโมนอินซูลินท้างานบกพร่อง ท้าให้มีการหลั่งฮอร์โมนอินซูลินได้น้อยกว่า
ปกติ หรือ เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน ท้าให้อินซูลินออกฤทธิ์ได้ไม่เต็มที่ เมื่อน้้าตาลไม่ได้ถูกใช้
จึงท้าให้ผู้ป่วยมีระดับน้้าตาลสะสมในเลือดปริมาณสูงมากกว่าปกต หากไม่มีการควบคุม
ิ
การรับประทานอาหารและดแลรักษาสุขภาพอย่างถูกวิธี ปล่อยให้ระดับน้้าตาลในเลือดสูง
ู
ื
่
้
ื
็
เปนระยะเวลานานอย่างตอเน่อง จะส่งผลกระทบทาให้หลอดเลอดขนาดเลก
็
(microvascular) และหลอดเลือดขนาดใหญ (macrovascular) ที่น้าสารอาหารไปเลี้ยง
่
้
อวัยวะต่าง ๆ ในรางกายเสื่อมสภาพลง และอาจทาใหอวัยวะต่าง ๆ เกิดการลมเหลวใน
้
่
้
การทางาน น้าไปสู่ภาวะแทรกซ้อนต่อหลอดเลือดขนาดเล็ก เช่น ความผดปกติของจอตา
้
ิ
โรคไตจากโรคเบาหวาน เป็นต้น หรือภาวะแทรกซ้อนต่อหลอดเลือดขนาดใหญ่ ได้แก่
็
โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง เปนตน นอกจากนี้ยังอาจท้าให้เกิดภาวะแทรกซ้อนของ
้
ิ
ี
ู
่
่
ระบบประสาท ซงอาจรุนแรงถงขนต้องสญเสยอวัยวะบางสวน หากเกดโรคเบาหวานใน
ึ
ึ
้
ั
หญิงตั้งครรภ์ อาจเพิ่มความเสี่ยงในการแท้งบุตร และภาวะครรภ์เป็นพิษ
(1)
็
โรคเบาหวานเปนโรคไม่ติดต่อเรื้อรังทางเมแทบอลิซึม (Non-communicable
diseases; NCDs) ซึ่งเป็นปัญหาสขภาพอันดับต้นทางสาธารณสขท่วโลกรวมถงประเทศ
ึ
ุ
ั
ุ
ไทย จากรายงานของสหพนธ์โรคเบาหวานนานาชาต (International Diabetes
ิ
ั
ู
Federation หรือ IDF) พบว่าในป พ.ศ. 2564 มีผปวยโรคเบาหวานทั่วโลกอายุระหว่าง
้
ี
่
20 – 79 ปี ประมาณ 537 ล้านคน ซึ่งได้คาดการณ์ว่าจะมีผู้ป่วยเพมขึ้นเป็น 634 ล้านคน
ิ่
ในปี พ.ศ. 2573 และเพิ่มเป็น 783 ล้านคนในปี พ.ศ. 2588 ส่วนสถานการณ์ในประเทศ
(2)
่
ี
้
ั
่
้
ไทยจากรายงานการสารวจสขภาพประชากรไทย โดยการตรวจรางกาย ครงท 5 (ปี พ.ศ.
ุ
(4)
(3)
2557) และ ครั้งที่ 6 (ปี พ.ศ. 2562-2563) พบว่ามีผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีอายุ 15 ปี